ปัจจัยความเสี่ยงบนความท้าทายของการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • จักรกฤษณ์ โปณะทอง

คำสำคัญ:

ปัจจัยความเสี่ยง, การบริหารจัดการความเสี่ยง, สถาบันอุดมศึกษา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษา ทบทวนพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีงานวิจัย และเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยง และการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษา และ 2) นำเสนอกรอบแนวคิดปัจจัยความเสี่ยงของการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาจากการศึกษาและ ทบทวนวรรณกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อหาองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรอบแนวคิดการบริหารจัดการ ความเสี่ยงและการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาพบว่าการบริหารจัดการความเสี่ยงมีความสำคัญมาก ในสถาบันอุดมศึกษาและปัจจัยความเสี่ยงบนความท้าทายของการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษา ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ปัจจัยภายใน (Internal Factors) ซึ่งการดำเนินงานการจัดโครงสร้าง ของหลักสูตรต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และปัจจัยภายนอก (External Factors) ตามแนวทฤษฎี STEEP Analysis โดยผ่าน กระบวนการบริหารจัดการที่หลากหลายตามสถานการณ์ต่างๆ ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา

References

กาญจนา โตรุ่ง. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชี้และการศึกษาคุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน. (วิทยานิพนธ์ ค.ม. วิจัยทางการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (2557). คู่มือระบบการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2556-2560. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2555). คู่มือการประกันคุณภาพหลักสูตรมหาวิทยาลัยทักษิณ ปีการศึกษา 2555. สงขลา: กองแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2555). คู่มือการประกันคุณภาพหลักสูตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2555. เชียงใหม่: สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2555). คู่มือการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์การมหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551–2565). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________ .(2558). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557. นนทบุรี: ห้าง หุ้นส่วน จำกัด การพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

อดุลย์ วิริยะเวชกุล. (2541). ดัชนีบ่งชี้คุณภาพบัณฑิตศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: พี. เอ.ลีฟวิ่ง.

Bensoussan, B. E., & Fleisher, C. S. (2008). Analysis Without Palalysis 10 Tools to make better strategic decisions. Newjersey: Pearson Education LTD.

Breighner, M. & Payton, W.(2005). Risk and Insurance Management Manual for Libraries. Chicago: American Library Association.

Joint, N. (2007). “Appling General Risk Management Principles to Library Administration.” Library Review 56(7), 543-551.

Kirsty, G. (2010). STEEP Theory. Retrieved March 30, 2010 from http://www.trainingblog.co.uk/2010/03/30/steep-theory

Ruzic-Dimitrijevic, L. & Dakic, J.(2014) “The risk management in higher education institutions” Online Journal of Applied Knowledge Management, Vol. 2(3), 37–152.

Michalko J., Malpas, C. and Arcolio, A. (2010). Research Libraries, Risk and Systemic Change. Retrieved March 30,2010 from http://www.oclc.org/research/publications/library/2010/2010-01.pdf

Bin, M. S., Zakuan, N., Tajudin M. N. and Ahmad. A. (2014).“A Framework for Risk Management Practices and Organizational Performance in Higher Education”. Society of Interdisciplinary Business Research,Vol. 3(2), 422–432.

Natarajan, M. (2005). Risk Management and Its Implications for Libraries. Retrieved January 26, 2011 from http://ir.inflibnet.ac.in/bitstream/handle/1944/1412/52.pdf?sequence=1

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-18