รูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเชิงบูรณาการ

ผู้แต่ง

  • สาธิต ปรัชญาอริยะกุล สาขาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • พิณสุดา สิริธรังศรี สาขาวิชาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • สินธะวา คามดิษฐ์ สาขาวิชาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการการศึกษา, การมีส่วนร่วม, องค์กรในชุมชน, การบูรณาการ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเชิงบูรณาการนี้ เป็นวิจัยวิธีเชิงผสม โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใน 17 จังหวัด 5 ภูมิภาค จำนวน 131 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา ครูและผู้ปกครอง รวมทั้งสิ้น 328 คน

ผลการวิจัย พบว่า

1. การบริหารจัดการการศึกษาในงาน 6 ด้าน ได้แก่ งานวิชาการ งานกิจการนักเรียน งานบริหาร งานบุคคล งานงบประมาณ งานระดมทรัพยากรและงานสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน พบว่า งานสร้างความ สัมพันธ์กับชุมชนมีระดับการมีส่วนร่วมทั้งสภาพจริงและความคาดหวังสูงสุด สำหรับการมีส่วนร่วมทั้ง 4 ด้านพบว่า ระดับการมีส่วนร่วมตามสภาพจริงมากที่สุด คือ ร่วมดำเนินการและระดับการมีส่วนร่วมตาม ความคาดหวังคือร่วมวางแผน ส่วนการมีส่วนร่วมติดตามประเมินผลทั้งสภาพจริงและความคาดหวังมี ส่วนร่วมระดับน้อยที่สุด

2. รูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเชิง บูรณาการที่เหมาะสมจะต้องอยู่บนพื้นฐานการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม การเรียนรู้ตลอดชีวิตการบูรณาการ และการการศึกษาเชิงพื้นที่โดยใช้วิธีการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา

References

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2556). การจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่8). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

ปราชญา กล้าผจัญและพอตา บุตรสุทธิวงค์. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: พลการพิมพ์(1996).

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2553). รายงานการวิจัย เรื่อง ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ปี. (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักนโยบายและแผนการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ วาสนา วิสฤตาภา นักรบ หมี้แสน สินธะวา คามดิษฐ์ เฉลิมชัย มนูเศวต. (2559). การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์,นักรบ หมี้แสน. (2559). ความเป็นครูและการพัฒนาครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ภัธรภร ปุยสุวรรณ. (2556). แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผู้ปกครองและครูทีเหมาะสมกับสังคมไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. เล่มที่ 116 ตอนที่ 74 ก. (19 สิงหาคม2542) ในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2547) กฎหมายการศึกษาเล่มที่1. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

วรากรณ์ สามโกเศศ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ นงราม เศรษฐพานิช ศิริพร แย้มนิล วลัยพร ศิริภิรมย์ พิณสุดา สิริธรังศรี และ สุมาลี เภตรานุวัฒน์ (2553). ข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

วิเชียร วิทยอุดม. (2554). การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ธนทัช การพิมพ์.

เสรี พงศ์พิศ. (2549). อนาคตเริ่มตั้งแต่วันวาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สมนึก การีเวทและสนั่น ประจงจิตร. (2552). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21. ประมวลบทความทางวิชาการสาขาวิชาการบริหารการศึกษา. (น.125). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหาร. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำราญ มีแจ้ง. (2558). การประเมินโครงการทางการศึกษา ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ahmed, I., & Hamdam, S. (2013). Effect of Community Participation in Education on Quality of Education: Evidence from a Developing Context. Journal of Education and Vocational Research, 10(4), 293-299.

Godfrey, M., S. (2014). Investigating Community Participation Dynamics in Education: The Case for Manicaland Province Zimbabwe. (Thesis, Doctor of Philosophy in Educational Management): Zimbabwe: Zimbabwe Open University.

UNESCO. Asia and Pacific Regional Bureau for Education. (2008). Community learning centre: Country report from Asia. Bangkok: UNESCO. Retrieved from http://unesdoc.unesco.org/images/0016/001604/160492e.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-19