องค์ประกอบของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 ของสถานประกอบการในกลุ่มบริการกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
ลักษณะของการบันทึกบัญชี, รอบระยะเวลาบัญชี, นโยบายการบัญชี, การกำหนดมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับลักษณะของการบันทึกบัญชี รอบระยะ เวลาบัญชี นโยบายการบัญชี และการกำหนดมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิของมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม กลุ่มตัวอย่างสำหรับการทำวิจัยนี้คือผู้ทำบัญชีของสถานประกอบการกลุ่มบริการและกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำนวน 152 บริษัท ประกอบด้วยกลุ่มบริการจำนวน 61 บริษัทและกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างจำนวน 91 บริษัท เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยเป็นแบบสอบถาม ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติช่วยในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน
ผลการวิจัย พบว่าลักษณะการบันทึกบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี นโยบายการบัญชี การกำหนด มูลค่าของสินทรัพย์สุทธิในกลุ่มบริการกับกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
References
ณัฐชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์ และ วิศรุต ศรีบุญนาค. (2556). ประเด็นที่สำคัญในการจัดทำงบการเงินรวมและการเปิดเผยส่วนได้เสียในกิจการอื่นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 10 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558). ฐานข้อมูลบริษัทที่จดทะเบียนกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.sec.th.or.th
รองเอก วรรณพฤกษ์. (2553). ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับงบการเงินรวม. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 101-107.
ลภินี โกศลบุญ และ อรพินท์ อิ่มจงใจรักษ์. (2553). มาตรฐานการบัญชี เรื่องงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ: มุมมองของผู้สอบบัญชีและผู้จัดทำงบการเงินของบริษัทในกลุ่ม SET 100. วารสารวิชาชีพบัญชี, 6(15), 69-82.
วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2544). การจัดทำงบการเงินรวมของกลุ่มบริษัท ปัญหา หลักการ และวิธีการในทางปฏิบัติ. จุฬาลงกรณ์รีวิว, (27), 59-85.
วรศักดิ์ ทุมมานนท์ และ จุฑาทิพ อัสสะบำรุงรัตน์. (2559). ผลกระทบของมาตรฐานรายงานทางการเงิน Pack 5 ที่มีต่อบริษัทจดทะเบียน: กรณีประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12(36), 5-19
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และ พิมพ์ใจ วีรศุทธากร. (2557). หลักการสำคัญของมาตรฐานการรายทางการเงินในกลุ่มของ PACK 5. วารสารวิชาชีพบัญชี, 10(29), 89-97
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 รวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2558). กรุงเทพฯ: สภาวิชาชีพบัญชี.
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 งบการเงินรวม (ปรับปรุง 2558). กรุงเทพฯ: สภาวิชาชีพบัญชี. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุง 2558). กรุงเทพฯ: สภาวิชาชีพบัญชี.
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). แนวคิดสำหรับรายงานทาง (ปรับปรุง 2558). กรุงเทพฯ: สภาวิชาชีพบัญชี.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2559). โครงสร้างการจัดกลุ่มอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.set.th.or.th
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2556). FRUpdate@SET Vol.2/2013 สืบค้น 11กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.set.th.or.th
อัญชลี วิรุฬห์จรรยา. (2548). ความคิดเห็นของนักบัญชีที่มีต่อปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44: งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย. BU Academic Review, 4(2), 2548.
Cornbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Phsychometrika, 16 (3), 297-334.
Epstein, B. J., and Mirza, A. A. (2001). Interpretaion and applicaton of international accounting standards 2001. New York: John Wiley & sons.
Nobes, C. W. (2000). GAAP 2000: A Survey of national accounting rules in 53 countries.Reading: Pricewaterhouse Coopers.
Nunnally, J. C. and Bernstein, T. (1978). Psychometric Theory. New York, NY: Mc Grawhill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น