มาตรการลดความรุนแรงในการบังคับคดียาเสพติดประเภทต่างๆ ที่ใช้ในประเทศต่างๆ ในโลก

ผู้แต่ง

  • จิรวุฒิ ลิปิพันธ์ คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ธานี วรภัทร์ คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ประธาน วัฒนวาณิชย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

การลดความรุนแรงในคดี, การทำให้ไม่เป็นความผิดอาญา, การทำให้ยาเสพติดถูกกฎหมาย, การเปิดเสรี, ยาเสพติด

บทคัดย่อ

การลดความรุนแรงในคดียาเสพติดที่ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องเกิดจากแนวคิดนโยบายทางอาญาสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ การไม่ทำให้เป็นความผิด (Decriminalization) ได้แก่ การแสวงหาเหตุผลในการไม่ดำเนินคดีอาญากับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดระดับเล็กน้อยเช่น ครอบครองเพื่อเสพหรือเป็นผู้ป่วยที่ต้องรับการรักษา, การเปิดเสรียาเสพติด (Drug Liberalization) ได้แก่ แนวคิดในการให้ประชาชนสามารถใช้ยาเสพติดได้อย่างเสรีมากขึ้นโดยลดทอนความเป็นอาชญากรรมและมาตรการดำเนินคดี และการทำให้ยาเสพติดถูกต้องตามกฎหมาย (Drug Legalization) ซึ่งได้แก่ การบัญญัติกฎหมายภายในประเทศเพื่อรับรองการใช้ยาเสพติดประเภทนั้นๆ ว่าถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อพิจารณาถึงการนำแนวทางนี้ไปใช้ในทางปฏิบัติ และจากนโยบายทั้งสามประการนี้ สามารถนำไปไปดำเนินการกำหนดมาตรการลดความรุนแรงจากการบังคับคดียาเสพติดได้หลายแนวทาง ได้แก่ การจำแนกผู้กระทำความผิดระดับเล็กของจากผู้กระทำความผิดระดับสูง นโยบายแจกเข็มฉีดยา การเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาด้วยเมธาโดน ฝิ่น เฮโรอีน การจัดให้มีห้องบริโภคยาเสพติด และการบำบัดรักษาในเรือนจำ หลายประเทศอย่างเช่น สวิตเซอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส เยอรมนี เดนมาร์ก แคนาดาและประเทศไทย ได้กำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับจำนวนขั้นต่ำซึ่งผู้นั้นสามารถครอบครองยาได้เพื่อวัตถุประสงค์ที่ไม่ใช่การจำหน่าย อย่างไรก็ดี ประเทศเหล่านั้นยังกำหนดการครอบครองยาเหล่านั้นยังเป็นความผิดตามกฎหมายยาเสพติดอยู่

References

กอบกูล จันทวโร, ธานี วรภัทร์, จิรวุฒิ ลิปิพันธ์, สุภัชลี เทพหัสดินฯ, และสุรีรัตน์ เจตน์ตะพุก. (2559). รายงานการศึกษาและข้อเสนอทางกฎหมายสำหรับผู้กระทำผิดคดียาเสพติด เพื่อเป็นข้อเสนอในการประชุมสหประชาชาติสมัยพิเศษ UNGASS. กรุงเทพฯ: สำนักกิจการในพระดำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา.

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย. (2559). ข้อเสนอทางวิชาการต่อคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ... . กรุงเทพฯ: คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย.

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย. (2557). เอกสารสรุปการประชุมของคณะกรรมการยาเสพติดแห่งสหประชาชาติ ปี 2014. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย.

คณะกรรมาธิการสากลว่าด้วยนโยบายยาเสพติด. (2557). เข้าควบคุม: กลับทางสู่นโยบายยาเสพติดที่มีประสิทธิผล (เอกสารแปล). กรุงเทพฯ: สำนักกิจการในพระดำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา.

คณิต ณ นคร. (2556). กฎหมายอาญาภาคทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

ธานี วรภัทร์. (2554). วิกฤตราชทัณฑ์วิกฤตกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

ธานี วรภัทร์. (2557). มาตรการบังคับทางอาญา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

นัทธี จิตสว่าง. (ม.ป.ป.). แนวทางการขับเคลื่อนข้อกำหนดกรุงเทพ (Bangkok Rules) ไปสู่การปฏิบัติในงานราชทัณฑ์ของไทย. กรุงเทพฯ: กรมราชทัณฑ์.

ศักดิ์ชัย เลิศพาณิชพันธ์. (ม.ป.ป.). ทางเลือกใหม่ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิดและการป้องกันอาชญากรรม. กรุงเทพฯ: กรมคุมประพฤติ.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2558). แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี 2558. (PDF) กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.

อภิชาติ ดำรงสันติสุข. (2556). แผนบังคับโทษจำคุกรายบุคคล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

Blickman, T., & Jelsma, M. (July, 2009). Drug policy reform in practice: Experiences with alternatives in Europe and the US, The Netherlands: Transnational Institute. Retrieved from http://fileserver.idpc.net/library/NS_222_TB_MJ_English_Version.pdf

Cabral, T.S. (2017). The 15th anniversary of the Portuguese drug policy: Its history, its success and its future. USA: SAGE, Retrieved January, 1 2017, from https://journals.sagepub.com/doi/full/10.1177/2050324516683640

Collin, C. (2015). Switzerland’s drugs policy. Canada: Parliament of Canada. Retrieved from http://www.parl.gc.ca/Content/SEN/Committee/371/ille/library/collin1-e.htm.

EMCDDA. (2018). European legal database on drugs: Penalties for drug law offences in Europe at a glance. Lisbon: EMCDDA. Retrieved from: http://www.emcdda.europa.eu/topics/law/penalties-at-a-glance.

EMCDDA. (2018). Denmark, country drug report 2018. Lisbon: EMCDDA. Retrieved from http://www.emcdda.europa.eu/countries/drug-reports/2018/denmark/drug-laws-and-drug-law-offences_en

EMCDDA. (2018). European drug report 2018: Trends and developments. Lisbon: EMCDDA. Retrieved from http://www.emcdda.europa.eu/topics/law/penalties-at-a-glance.

EMCDDA. (2018). Germany drug report 2018. Lisbon: EMCDDA, Retrieved from http://www.emcdda.europa.eu/countries/drug-reports/2018/germany/drug-laws-and-drug-law-offences_en

EMCDDA. (2018). Portugal country drug report 2018. Lisbon: EMDCCA. Retrieved from http://www.emcdda.europa.eu/countries/drug-reports/2018/portugal/drug-laws-and-drug-law-offences_en

Fact.org. (2015). The Netherlands drug control data and policies: Drugs War Facts NL: Drug War Facts.org. Retrieved from http://www.drugwarfacts.org/cms/The+Netherlands#sthash.nnTgae4S.dpbs.

Forell, S., & Price, L. (1997). Using harm reduction policing within drug law enforcement in the NSW police services. Australia: NSW Police Service.

Gillespie, N. (2009, December). Drug decriminalization in Portugal, USA : Reason Foundation, Retrieved from https://reason.com/2009/06/22/drug-decriminalization-in-port/

Greenwald, G. (2009, April 2). Drug decriminalization in Portugal: Lessons for creating fair and successful drug policies (pdf). US: Cato Institute. Retrieved from https://www.cato.org/publications/white-paper/drug-decriminalization-portugal-lessons-creating-fair-successful-drug-policies

Harm Reduction International. (2019). Global harm reduction report 2018. UK: Harm Reduction International. Retrieved from https://www.hri.global/files/2019/02/05/global-state-harm-reduction-2018.pdf

Harm Reduction International. (2019). Global harm reduction report 2018. UK: Harm Reduction International. Retrieved from https://www.hri.global/global-state-harm-reduction-2018.

Ministry of Justice. (2016). Alcohol and other drug treatment (AODT) court pilot. New Zealand: Ministry of Justice, Retrieved June, 27 2017, from http://www.justice.govt.nz/courts/district-court/alcohol-and-other-drug-treatment-aodt-court-pilot-1.

Oakford, S. (2016). Portugal’s example: What happened after it decriminalized all drugs, from weed to heroin. USA: VICE. Retrieved From https://news.vice.com/article/ungass-portugal-what-happened-after-decriminalization-drugs-weed-to-heroin

Public Health England. (2017). Shooting up: Infections among people who inject drugs in the UK, 2016. London: Public Health England. Retrieved from https://assets.publishing.service.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/756502/Shooting_up_2018.pdf

Senate of Canada. (2001). Proceedings of the special committee on illegal drugs. CA: Senate of Canada Retrieved May, 28 2019, https://sencanada.ca/en/Content/Sen/committee/371/ille/03evb-e

Suh, S., & Ikeda, M. (2018). Compassionate pragmatism on the harm reduction continuum: Expanding the options for drug and alcohol addiction treatment in Japan Niigata College of Nursing, Japan: Center for the study of communication-design, Japan: Osaka University. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/283013897_Sookja_SUH_and_Mitsuho_IKEDA_Compassionate_Pragmatism_on_the_Harm_Reduction_Continuum_Expanding_the_Options_for_Drug_and_Alcohol_Addiction_Treatment_in_Japan_Communication-Design_1363-72_2015

Szalavitz, M. (2009, April 26). Drugs in Portugal: Did decriminalization work?. TIME. USA: TIME. Retrieved from http://content.time.com/time/health/article/0,8599,1893946,00.html

Transform Drug Policy Foundation. (2009). After the war on drugs: Blueprint for regulation. UK: Transform Drug Policy Foundation. Retrieved from https://transformdrugs.org/wp-content/uploads/2018/10/Blueprint.pdf

Transform Drug Policy Foundation. (2010, Feb 3). Tobacco regulation: Saving livings vs personal freedom. UK: Transform Drug Policy Foundation. Retrieved from http://transform-drugs.blogspot.com/2010/02/regulation-saves-lives.html.

Transform Drug Policy Foundation. (2018). The success of Portugal’s decriminalization policy – In Seven Charts. UK: Transform Drug Policy Foundation. Retrieved from https://transformdrugs.org/the-success-of-portugals-decriminalisation-policy-in-seven-charts/

UNODC. (2009). World drug report: 2.0 confronting unintended consequences: Drug control and the criminal black market. US: UNODC. Retrieved from https://www.unodc.org/documents/wdr/WDR_2009/WDR2009_2.1.pdf

Vastag, B. (2018). 5 years after: Portugal's drug decriminalization policy shows positive results. US Scientific American.com. Retrieved from https://www.scientificamerican.com/article/portugal-drug-decriminalization/.

Verrel, T. (2015). Kriminologishes Seminar, Deutscheland: Rechts und Staatswissenschaftliche Fakultät, Universitat Bonn.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-24