ต้นแบบการโค้ชวิถีไทย: ประยุกต์พุทธปรัชญาสู่การโค้ชบนพื้นฐานสติ

ผู้แต่ง

  • วนิดา พลเดช

คำสำคัญ:

ต้นแบบการโค้ชวิถีไทย, พุทธปรัชญา, การโค้ชบนพื้นฐานสติ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการพัฒนาและแนวคิดของการโค้ชวิถีไทยต้นแบบการโค้ช วิถีไทยคือ การโค้ชบนพื้นฐานสติที่ประยุกต์จากพุทธปรัชญาด้วยวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการของโค้ช วิถีไทยประกอบด้วย“สติ” อันเป็นหัวใจสำคัญของศาสตร์การโค้ชวิถีไทยพร้อมด้วยหลักปรัชญาของ พุทธศาสนาเช่นกัลยาณมิตรธรรมพรหมวิหารธรรมดอกบัว 4 เหล่า  พละ 5 อริยสัจ 4 และใช้โมเดล ทางสายกลางเป็นกระบวนการโค้ชวิถีไทยเพื่อน นำผู้รับการโค้ชไปสู่เป้าหมายทั้งด้านความคิดเห็นที่ถูกต้อง การปฏิบัติที่เหมาะสมและสติสมาธิที่มั่นคง นำไปสู่ความสำเร็จและความสุขอย่างมีดุลยภาพในทุกระดับ ของชีวิตที่ต้องการ

References

เนชั่นบุ๊คส์. (2545). บันทึกตามรอย. ๘๔ คำพ่อสอนกรุงเทพฯ.: สำนักพิมพ์เนชั่นบุ๊คส์.

บุญเพ็ญ แขวัฒนะ. (2532). กฎแห่งธรรมชาติคุณค่าของสติ. กรุงเทพฯ.: ม.ป.พ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสน์. ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วนิดา พลเดช. (2559). คู่มือการโค้ชวิถีไทยรุ่นกรุงเทพฯ8.: ม.ป.พ.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า (วชิรญาณวโรรส, กรมพระยา). (2540)นวโกวาท.. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย

สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายกสมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ.สุวฑฺฒโน). (2535). สัมมาทิฏฐิตามพระเถราธิบายของท่านพระสารีบุตรเถระกรุงเทพฯ.: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

De Hann, E. (2008). Relational Coaching: Journeys Towards Mastering One-To-One Learning. Chichester: John Wiley & Sons.

Douglas Harper (2017). “Coach”. Online Etymology Dictionary. Retrieved June 10, 2017, from http://www.etymonline.com/index.php?term=coach

Piggot-Irvine, E. (2002). Rhetoric and practice in action research. Proceedings of the British Educational Research Association Annual Conference. Retrieved August 21, 2017, from http://www.leeds.ac.uk/educol/documents/00002471.htm

Grant, A. (2014). The efficacy of executive coaching in times of organisational change. Journal of Change Management, 14(2), 258–280.

Gray, D.E. (2010). Business Coaching for Managers and Organizations: Working with Coaches that Make the Difference. Amherst, MA: HRD Press.

Hofstede, G. H., Hofstede, G. J., & Minkov, M. (2010). Cultures and organizations: Software of the mind: intercultural cooperation and its importance for survival. New York: McGraw-Hill.

King, P. & Eaton, J. (1999). Coaching for results. Industrial and Commercial Training, 31(4), 145-151.

Law, H. (2013). The Psychology of Coaching, Mentoring and Learning. Chichester: John Wiley & Sons.

Wildflower, Leni (2013). The Hidden History of Coaching. Maidenhead: Open University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-25