การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ในกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • สาธร ใจตรง สาขาการวิจัยและการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สกล วรเจริญศรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • เรืองเดช ศิริกิจ สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบ, คุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรมของ นักศึกษาคณะ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 1,104 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามคุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรม โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

ผลจากการวิจัยพบว่า โมเดลการวิเคราะห์คุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ คุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านการรู้คิด คุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรมด้านอารมณ์ และคุณลักษณะเชิงคุณธรรมจริยธรรม ด้านพฤติกรรม มีค่าความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ ในเกณฑ์สูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งสามารถวัดองค์ประกอบคุณลักษณะเชิงคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ได้

References

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2537). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (LISREL) สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2557). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรสำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โสรีย์ โพธิ์แก้ว. (2557). จากจิตวิทยาสู่พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

Abercrombie, J. (2007). The philosophy of the moral feeling. (8 th ed). Charleston: Bibliobazaar.

Berkowitz, M. W. (2005). What works In character education: A research-driven guide for educators. University of Missouri-St. Louis . Retrieved September 5, 2013, from www.rucharacter.org/file/practitioners_518.pdf.

Character Education Partnership. (2010). Eleven principles of effective character education. Retrieved December 8, 2014, from http://www.character.org/uploads/PDFs/ElevenPrinciples_new2010.pdf

Chen, P.S. D. (2005). College and character: A study of the differences in character values and character education practices between American four year private faith - base and private nonsectarian college and universities. (Doctoral Dissertation Florida, The Florida State University College of Education). Retrieved September 5, 2013, from http//www. diginole.lib.fsu.edu.

Decker, P., Deke, J., Johnson, A., Mayer, D., Mullens, J & Schocet, P. (2005). The evaluation of teacher preparation models : design report. Retrieved March 8, 2014, from http://www.mathematicampr.com/publication/pdfs/teachprededign.pdf

Josephson Institute / Character Counts National Office. (2014). Character Education. Retrieved October 8, 2014, from http://charactercounts.org/contact.html#sthash.Vk5IAlF2.dpuf

Lahey, B. B. (2007). Psychology an introduction. (9 th ed). New York: McGraw – Hill.

Lickona, T. (1991). Educating for character: How our schools can teach respect and responsibility. New York: Bantam Book.

Nucci, L., & Narvaez, D. (2008). Handbook on moral and character education. New York: Routledge.

Ryan, K., & Bohin, K. E. (1999). Building character in schools practical ways to bring moral instruction to life. San Francisco: John Wiley & Son.

Santrock, W. J. (2008). Educational psychology. (3rd ed). New York: McGraw – Hill.

Schwartz, M. j. (2008). Effective character education. New York: McGraw – Hill.

The School for Ethical Education. (2014). Moral-knowing. Retrieved March 8, 2014, from http://ethvsed.org/moral-knowing

U.S. Department of Education. (2014). Character education. Retrieved December 8, 2014, from http://www2.ed.gov/teachers/how/character/edpicks.jhtml

Williams, M., & Lunenberg, M. (2008, November). The moral aspect of teacher educators practices. Journal of Moral Education, 37(4), 44

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-25