อิทธิพลของเจนเนอเรชั่นในองค์การ ค่านิยมในการทำงาน และการสนับสนุนจากองค์การที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (สำนักงานใหญ่)

ผู้แต่ง

  • รชยา ภูวดลกิจ
  • ศยามล เอกะกุลานันต์
  • อภิญญา หิรัญวงษ์

คำสำคัญ:

เจนเนอเรชั่นในองค์การ, ค่านิยมในการทำงาน, การสนับสนุนจากองค์การ, ความผูกพันต่อองค์การ

บทคัดย่อ

ความผูกพันต่อองค์การเกี่ยวข้องทั้งปัจจัยด้านบุคคลและปัจจัยด้านองค์การ งานวิจัยนี้มุ่งเน้น ศึกษาเจนเนอเรชั่นในองค์การ ค่านิยมในการทำงาน และการสนับสนุนจากองค์การที่มีอิทธิพล ต่อความผูกพันต่อองค์การเนื่องจากเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างความผูกพันต่อองค์การให้ เกิดขึ้นในตัวพนักงานอย่างต่อเนื่อง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (สำนักงานใหญ่) จำนวน 320 คน โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า เจนเนอเรชั่น ในองค์การ ค่านิยมในการทำงาน และการสนับสนุนจากองค์การ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพัน ต่อองค์การได้ร้อยละ 34อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

กานต์พิชชาเก่งการช่าง. (2556). เจนเนอเรชั่นวายกับความท้าทายใหม่ในการบริหารทรัพยากรบุคคล.วารสารสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์, 2(1), 15-27.

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2559). รายงานประจำปี 2558 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. สืบค้น7 กรกฎาคม 2559,จาก http://www.pea.co.th

ชูชัย สมิทธิไกร. (2554). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ณัฐญา มานะกิจ. (2554). ความผูกพันต่อองค์การของกลุ่มคนวัยทำงาน 3 รุ่น: กรณีศึกษาข้าราชการครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://lib.ku.ac.th/web/index.php/th

เดชา เดชะวัฒนไพศาล. (2551). เจนเนอเรชั่นวายกับความท้าทายใหม่ในการบริหารทรัพยากรบุคคล. จุฬาลงกรณ์วารสาร, 20(8), 53-54.

นิชาภา ปัญจมาวัฒนา. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php

ผู้จัดการออนไลน์. (2556, 16 มิถุนายน). หลังเปิด AEC ปัญหาเปลี่ยนงานบ่อยใหญ่กว่าสมองไหลแนะองค์กรเร่งสร้างความผูกพัน. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้น 18 กรกฎาคม2559, จาก http://www.manager.co.th

พณีพรรณ วงค์เป็ง. (2553). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษาโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ). สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php

พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ, จินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์, และไชยนันต์ปัญญาศิริ. (2552). ความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การ: ความหมายทฤษฎี วิธีวิจัย การวัดและงานวิจัย. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

ภคพงศ์ อุดมกัลยารัก. (2558, 10 กุมภาพันธ์). ฤาจะถึงการล่มสลายของมนุษย์เงินเดือน?. Voice News. สืบค้น1 มีนาคม 2558, จาก http://news.voicetv.co.th/business/165513.html

ภัทรวุธ สิทธิสาตร์. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานค่านิยมในการทำงานและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานควบคุมงานธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://lib.ku.ac.th/web/index.php/th

ภาคภูมิ เดชสกุลฤทธิ์. (2556, 21 ตุลาคม). ท่านเกิดพ.ศ.อะไรครับ?. ฐานเศรษฐกิจออนไลน์. สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://www.thanonline.com

รชฎชยสดมภ์. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่ง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้น 16 ธันวาคม 2557, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php

สิริอร วิชชาวุธ. (2553). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธ์. (2540). เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.

สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สามลดา.

Allen, N. J.,& Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of Occupational Psychology, 63(1), 1-18.

Amato, A. D.,&Herzfeldt, R.(2008). Learning orientation, organizational commitment and talent retention across generations: A study of European Managers. Journal of Managerial Psychology, 8(23), 929-953.

Buchanan, B. (1974). Building organization commitment: The socialization of managers in work organization. Administration Science Quarterly,19(4), 533-546.

Eisenberger, R., Huntington, R., Hutchison, S.,&Sowa, D. (1986).Perceived organizational support.

Journal of Applied Psychology,71(3), 500-507.

Kreitner, R.,&Kinicki, A. (2010). Organizational Behavior. New York: McGraw-Hill.

Luthans, F. (1992). Organization Behavior. New York: McGraw-Hill.

Lyons, S. (2003). An exploration of generational values in life and at work. Retrieved December

, 2013, from https://curve.carleton.ca/c3cc861c-e720-47a1-a33f-e8d570474474

McShane, S. L.,&Von Glinow, M. A.(2009). Organizational behavior. Boston: McGraw-Hill.

Petroulas, E., Brown, D., &Sundi, H. (2010). Generational characteristics and their impact on preference for management control systems. Australian Accounting Review, 20(3), 221-240.

Rhoades, L.,&Eisenberger, R. (2002).Perceived organizational support: A review of the literature. Journal of Applied Psychology, 87(4), 698-714.

Saleh, K. L.(2009). Managing to manage across generations at work. Retrieved April 5, 2015, from

https://www.desjardinslifeinsurance.com

Shore, L. M.,&Terick, L. M.(1991). A construct validity study of the survey of perceived organizational

support. Journal of Applied Psychology, 76(5), 637-643.

Super, D. E. (1970). Occupational Psychology. London: Tavistock.

Xiao, S.-F.,&Froese, F. J.(2008). Work values, job satisfaction and organizational commitment in China. Retrieved December 13, 2013, from https://aib.msu.edu/events/2008

Yoon, J.,&Thye, S. R. (2002). A dual process model of organizational commitment: Job satisfaction and organizational support. Work and Occupations, 29(1), 97-124.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-25