ทุนมนุษย์: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • พสุธิดา ตันตราจิณ
  • พิไลพรรณ นวานุช
  • ไกรภพ กฤตสวนนท์
  • สุภัคศิริ ปราการเจริญ

คำสำคัญ:

ทุนมนุษย์, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, คนเก่ง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงทุนมนุษย์กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนให้องค์การประสบความสำเร็จ จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องพบว่า การพัฒนาทุนมนุษย์นั้นเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน ส่งผลต่อการมีผลการปฏิบัติงานที่ดี (High Performance) ทั้งนี้ในการพัฒนาทุนมนุษย์ขององค์การให้มีศักยภาพในการแข่งขันได้นั้น สิ่งสำคัญอย่างยิ่งคือ การเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้มีความแข็งแกร่ง ซึ่งต้องเน้นการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดใหม่ ให้เป็นกระบวนการคิดใน เชิงนวัตกรรม การคิดเชิงสร้างสรรค์และการคิดแบบองค์รวมในเชิงบูรณาการ รวมทั้งการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีวิสัยทัศน์ในการมองการณ์ไกล กล้านำและผลักดัน การเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ให้สอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางของกระแสสังคมโลก และสังคมรอบข้างได้อย่างเหมาะสม

References

คนึงนิจ อนุโรจน์. (2552). บูรณาการทฤษฎีสู่แนวคิดการสร้างคนเก่งคนดีขององค์กร. Royal Thai Air Force Medical Gazette. ฉบับที่ 60, เดือนมกราคม - เมษายน 2557.

จีระ หงส์ลดารมภ์. (2555). เอกสารประกอบการสัมมนา 8K’s + 5 K’s ทุนมนุษย์คนไทยในการรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์.(2547). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: แชทโฟร์ พริ้นติ้ง.

พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้ พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : ธรรกมลการพิมพ์.

วรารัตน์ เขียวไพรี. (2550). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สิรบุตรการพิมพ์ จำกัด.

ศิรภัสสรณ์ วงศ์ทองดี. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุทธินี ฤกษ์ขำ. (2557). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หลักการและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุพจน์ ทรายแก้ว. (2545). การจัดการรัฐแนวใหม่. พระนครศรีอยุธยา: เทียนวัฒนา.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด (พ.ศ. 2555 – 2559). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก. (2558). การบริหารจัดการคนเก่งเชิงกลยุทธ์: ปัจจัยสาคัญสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน. Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2558.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2554). กลยุทธ์หมัดเด็ดพิชิตใจคนเก่ง. กรุงเทพฯ: บริษัท เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Berger, A.L. & Berger, R.D. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organizational Excellence by Identifying, Developing, and Promoting Your Best People. New York: McGrew-Hill.

Dessler, G. (2003). Human Resource Management. 9th ed. New Jersey: Pearson Education.

Dibble, S. (1999). Keeping Your Valuable Employees: Retention Strategies for Your Organization’s Most Important Resource. New York: John Wiley & Sons.

Michaels, E., Helen Handfield-Jones, H. and Beth Axelrod, B. (2001). The War for Talent. Boston USA: Harvard Business School Press.

Gratton, L. and Ghoshal, S. (2003). Managing personal human capital New ethos for the Volunteer employee. European Management Journal, 21, 1-10.

Harrion, R.,& Kessels, J. (2004). Human Resource Development in a Knowledge Economy. Basingstoke: Palgrave-Macmillan.

McClelland, David C. (1973). Testing for Competence rather than for Intelligence. American Psychologist , 28 (1), 114.

Marquardt, M.J. (1996). Building the Learning Organization: A Systems Approach to Quantum Improvement and Global Success. New York: McGraw-Hill.

Snell, S. and Bateman, T.S. (2014). Management: Leading and Collaborating in the Competitive World. 11th International ed. New York: McGraw-Hill.

Swanson, R. A., & Holton, E. F. (2001). Foundation of Human Resource Development. San Francisco: Berrett-Koehler.

Youndt, M. A., and Snell, S. A. (2004). Human Resource Configurations, Intellectual Capital, and Organizational Performance. Journal of Managerial Issues, 16(3), 337 –360.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29