หลักปฏิบัติและตัวชี้วัดของหลักปฏิบัติการจัดการคุณภาพการผลิตสถิติทางการของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ธิฏิรัตน์ ทิพรส คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

หลักปฏิบัติ, การจัดการคุณภาพสถิติทางการ, สถิติทางการ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่ออธิบายหลักปฏิบัติและตัวชี้วัดของหลักปฏิบัติการจัดการคุณภาพสถิติทางการของประเทศไทย ในการศึกษานี้ผู้วิจัยได้ศึกษาการจัดการระบบสถิติทางการจากองค์กรที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล 5 แห่ง ได้แก่ สำนักงานสถิติแห่งสหประชาชาติ (UNSD) สำนักงานสถิติยุโรป (EuroStat) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) สำนักงานสถิติแห่งชาติแคนาดา (Canada’s National Statistical Agency) และสำนักงานสถิติแห่งสหราชอาณาจักร (The UK Statistics Authority) และประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ในการหาค่าน้ำหนักความสำคัญของตัวชี้วัด ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่า หลักปฏิบัติการจัดการคุณภาพสถิติทางการของประเทศไทยควรมีทั้งสิ้น 9 หลักปฏิบัติและมีตัวชี้วัดที่ครอบคลุม 9 หลักปฏิบัติ มีทั้งสิ้น 47 ตัวชี้วัด

References

European Statistical System Committee. (2011). EUROPEAN STATISTICS CODE OF PRACTICE. N.P: n.p.

European Statistical System. (2012). Quality Assurance Framework of the European Statistical System. N.P: n.p.

International Monetary Fund. (2003). Data Quality Assessment Framework (DQAF) for Monetary Statistics. Washington, DC, USA: International Monetary Fund.

Statistics Canada.(2002). Canada’s Quality Assurance Framework. Ottawa, Canada: Statistics Canada.

The Expert Group on NQAF.(2012). Guidelines for the template for A Generic National Quality Assurance. N.P: n.p.

UK Statistics Authority.(2009). Code of Practice for Official Statistics (3rd ed.). London, UK: UK Statistics Authority.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-01