ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนและความพึงพอใจต่อการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ในโครงการการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีน ณ มหานครกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน

ผู้แต่ง

  • สิทธิโชค เศรษฐีแสง ภาควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • สมนวัน เหมนาค ภาควิชาภาษาตะวันออกและเอเชียศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำสำคัญ:

ภาษาจีน, ความพึงพอใจของผู้เรียน, ผลสัมฤทธิ์ทางเรียน, โครงการการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีน

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางภาษาจีนของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนมหาวิทยาลัยกรุงเทพในฐานะผู้เรียนภาษาจีนในต่างประเทศก่อนและหลังที่ เข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีน ณ มหานครกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางภาษาจีนของนักศึกษาที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อโครงการ หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (One-group pretest-posttest design) กับตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 54 คน เครื่องมือวิจัยที่ใช้ ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางภาษาจีน และ 3) แบบสำรวจความคิดเห็นต่อโครงการจากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาที่ เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนหลังการเข้าร่วมสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโครงการ 2) นักศึกษาที่อยู่ชั้นปี 1 และ 2 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนเฉลี่ยน้อยกว่าชั้นปี 3 ทั้งโดยรวมและรายด้านทุกด้านและทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการและ3) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อโครงการการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีนในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวมที่ 3.57

References

กนกพร ศรีญาณลักษณ์. (2551). รูปแบบการเรียนภาษาจีนของนิสิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.edu.buu.ac.th/journal/Journal%20Edu/19-3/03.pdf

กรมการท่องเที่ยว. (2558). สถิตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2558, จาก http://newdot2.samartmultimedia.com/home/details/11/221/24246

จินตนา ภู่ธนานุสรณ์. (2553). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc

ณภัทร วุฒิวงศา. (2557). กลยุทธ์สร้างแรงจูงใจ: การพัฒนาภาษาอังกฤษ. วารสารนักบริหาร. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_june_14/pdf/aw09.pdf

ฐานเศรษฐกิจ. (2558). ส่งออกไทยไปจีนทรุดต่อเนื่องไตรมาสแรกติดลบ14% สภาหอฯชี้สาเหตุทำวูบ. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.thanonline.com

ปิยะพงษ์ วงศ์ขุมเงิน. (2556).การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบ 4 MAT. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2558, จาก http://gsmis.gs.kku.ac.th/publish/details/13143

นิภา กู้พงษ์ศักดิ์. (2557). ผลของการสอนกลุ่มเล็กแบบดั้งเดิมและแบบสอนงานที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาการใช้ภาษาไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์ 28(87), 369-386.

พรศิริ กองนวล, อารีย์วชิรวราการ, วิไล ตั้งจิตสมคิด, สุภาพร มากแจ้ง, จิราภรณ์ มาตังคะ, และชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2550).รายงานการวิจัยการศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาโครงการค่ายภาษาจีนและโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc

พวงพร แซ่คู. (2555). กระบวนการจัดการเรียนรู้และครูผู้สอนภาษาจีนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2553). ประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยหลักสูตรและการเรียนการสอน. นนทบุรี: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

วิภา ธนวัฒน์โกวิท. (2553). การพัฒนาการเรียนรู้ตัวอักษรจีนโดยการเรียนรู้ส่วนประกอบของอักษรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.prc.ac.th/Academic/TeacherResearchReport/ResearchDetail.php?ID=513

ศุภชัย แจ้งใจ. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนภาษาจีนของผู้เรียนสาขาวิเทศธุรกิจจีนและจีนศึกษาคณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภูเก็ต. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.fis.psu.ac.th/jis_file/res_project/2010_supachai.pdf

สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์. (2556). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมมหาวิทยาลัยบูรพา, 9(1), 66-79.

สุธาสินี อินต๊ะตุ่น. (2556). การเขียนอักษรจีนของนักศึกษาโดยใช้ชุดฝึกการเขียนระดับชั้นประกาศณียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาบัญชี. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2558, จาก www.payaptechno.ac.th/app/images/payap/qa/innovation/teacher/ท่องเที่ยว/55/วิจัยการเขียนอักษรจีนโดยชุดการฝึก.pdf

สุพิชญา ชัยโชติรานันท์. (2558). การศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจในมิติด้านไวยากรณ์. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(1), 116-126.

เสาวภาคย์ วรลัคนากุล. (2551). ปัญหาในการเรียนภาษาจีนของคนไทย. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/

สายฝน วรรณสินธพ. (2554). ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการออกเสียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ในภาษาจีนกลางของนักศึกษาเอกวิชาภาษาจีนและนักศึกษาคณะแพทย์แผนจีนมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2558, จาก http://journal.hcu.ac.th

อัญชนา ศรีเรืองฤทธิ์, ปรีชา ศรีเรื่องฤทธิ์, และณัชยา หุมนา. (2552). รายงานการวิจัยการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2558, จาก http://research.pcru.ac.th/rdb/pro_data/files/5203011.pdf

Amuzie, G. L., & Winke, P. (2009).Changes in language learning beliefs as a result of study abroad. System, 37(3), 366-379.

Cubillos, J. H., Chieffo, L., & Fan, C. (2008). The impact of short-term study abroad programs on L2 listening comprehension skills. Foreign Language Annals, 41(1), 157.

Diaz-Campos, M. (2004).Context of learning in the acquisition of Spanish second language phonology. Studies in Second Language Acquisition, 26(02), 249-273.

Evans, M., & Fisher, L. (2005). Measuring gains in pupils’ foreign language competence as a result of participation in a school exchange visit: The case of Y9 pupils at three comprehensive schools in the UK. Language Teaching Research, 9(2), 173-192.

Gao, X. (2008). Shifting motivational discourses among mainland Chinese students in an English medium tertiary institution in Hong Kong: A longitudinal inquiry. Studies in Higher Education, 33(5), 599-614.

Hanban. (2013-2015). 考试大纲类 Chinese Testing International. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2558, จาก http://www.chinesetest.cn/godownload.do

Jackson, J. (2008). Language, identity, and study abroad: sociocultural perspectives Studies in applied linguistics. C. Candlin,& S. Sarangi (Eds.). London.

Llanes, A., & Muzoz, C. (2009). A short stay abroad: Does it make a difference?. System, 37(3), 353-365.

Ma Tao. (2550). การวิจัยปรับใช้ยุทธศาสตร์การสอนพูดภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองกับนักศึกษาไทย โปรแกรมวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราขภัฏลำปาง. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc

Meara, P. (1994). The year abroad and its effects. Language Learning Journal, 10(1), 32-38.

Parkvall, M. (2008). Which parts of language are the most stable?. STUF-Language Typology and Universals Sprachtypologie und Universalienforschung, 61(3), 234-250.

Pellegrino, V. (1996). Factors affecting risk-management behavior among students during study-abroad.Washington, DC: AATSEEL Convention.

Pellegrino, V. A. (1998). Student Perspectives on Language Learning in a Study Abroad Context. Frontiers: The Interdisciplinary Journal of Study Abroad, 4(2), 91-120.

Peng Liting. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม. กระแสวัฒนธรรม วารสารวิชาการคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 15(28), 27-38.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-03