ความพึงพอใจในลักษณะท่าทางของคู่สื่อสารระหว่างหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติในงานประชาสัมพันธ์
คำสำคัญ:
ลักษณะท่าทาง, หัวหน้า, ผู้ปฏิบัติงาน, งานประชาสัมพันธ์บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องความพึงพอใจในลักษณะท่าทางของคู่สื่อสารระหว่างหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติในงานประชาสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานโดยจำแนกตามคุณสมบัติ อันได้แก่ เพศ และอายุต่อลักษณะภาษาท่าทางของคู่สื่อสารและเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานกับระดับความพึงพอใจที่มีต่อลักษณะภาษาท่าทางของคู่สื่อสาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ หัวหน้างานและผู้ปฏิบัติที่จบสาขาการประชาสัมพันธ์แล้วทำงานด้านการประชาสัมพันธ์ในองค์กรเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 300 คน โดยจำแนกเป็นหัวหน้างาน จำนวน 109 คน และผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 191 คน
ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงาน โดยจำแนกตามลักษณะ ทางเพศต่อลักษณะภาษาท่าทางของคู่สื่อสารพบว่าหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานที่มีเพศต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในลักษณะภาษาท่าทางของคู่สื่อสารแตกต่างกัน
References
กรรณิกา ธรรมวุฒิ. (2541). การศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อพฤติรรมการสื่อสารภายในขององค์การของผู้บังคับบัญชาชายและหญิง. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิติกร มีทรัพย์. (2529). ครบรอบสถาปนาสามทศวรรษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน 2498-2528. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
จาระไน แกลโกศล. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 10 (พิมพ์ครั้งที่ 18). นนทบุรี: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปัจจนึก. (2524). อิทธิพลของสังคมต่อทัศนคติของวัยรุ่น รายงานการวิจัยฉบับที่ 18. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ปรมะ สตะเวทิน. (2542). เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 1 (พิมพ์ครั้งที่ 17). นนทบุรี: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์. (2530). สุขภาพจิตเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: บัณฑิตการพิมพ์.
ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์. (2540). เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมการสื่อสาร หน่วยที่ 4 (ฉบับปรับปรุง). นนทบุรี: สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ลิขิต กาญจนภรณ์. (2525). จิตวิทยาพื้นฐานพฤติกรรมมนุษย์ เล่ม 1. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. วัลลภ ปิยะมโนธรรม (2531). ความเบี่ยงเบนทางเพศ. การประชุมสัมมนาระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่องการพัฒนาสังคมและชีวิตด้วยจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ.
สวนิต ยมาภัย. (2536). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ: 68 การพิมพ์.
สุมิตร คุณากร. (2524). ภาษาท่าทาง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัทศึกษิตสยาม จำกัด.
วิชชา สันทนาประสิทธิ์. (2543). การนำเสนอภาพความเป็นชายในภาพยนตร์ไทยระหว่างปีพ.ศ. 2541-2542. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน ภาควิชาการสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bakan, D. (1966). The reality of human existence. Boston: Beacon Press.
Cutlip, S. M., & Center, A. H. (2012). Effective Public Relations. (11th Edition). New Jersey: Prentice Hall, Inc.
Cutlip, S. M. & Center, A. H., & Broom, G. M. (2005). Effective Public Relations. (9th Edition). New Jersey: Prentice Hall, Inc.
Fazio, T. C. (1993). The relationship of supervisory communication characteristic of job satisfaction, job performance, and loyalty to an immediate supervisor of public sector employees. Unpublished doctoral dissertation, Nova University, Forth Lauderdale.
Hargie, O., & Dickson, D. (2004). Skilled Interpersonal Communication: Research, Theory, and Practice. (4th Edition). London: Routledge Taylor & Fracis Group.
Payne, K. E. (2001). Different but Equal: Communication between the Sexes. Westport: Praegger.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น