การศึกษาคำเดี่ยวในวรรณกรรมไทยสมัยอยุธยาที่ปรากฏใช้ในปัจจุบัน
คำสำคัญ:
คำเดี่ยว, วรรณกรรมไทย, สมัยอยุธยา, พจนานุกรมปัจจุบันบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการปรากฏของคำเดี่ยวในวรรณกรรมไทย สมัยอยุธยาที่ไม่ปรากฏเป็นคำเดี่ยวในพจนานุกรมปัจจุบัน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามีทั้งหมด 146 คำ โดยเก็บข้อมูลมาจากเอกสารสมัยอยุธยาจำนวน 30 เรื่อง
ผลการศึกษาพบว่า คำเดี่ยวในวรรณกรรมไทยสมัยอยุธยาแม้ไม่ปรากฏเป็นคำเดี่ยวใน พจนานุกรมปัจจุบันก็ตาม แต่คำบางคำยังปรากฏใช้เป็นคำซ้อน คำประสม และสำนวนอยู่ใน พจนานุกรมปัจจุบัน และคำบางคำยังปรากฏใช้เป็นคำเดี่ยวในพจนานุกรมภาษาถิ่นอื่นๆ ได้แก่ พจนานุกรมภาษาถิ่นเหนือ พจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน และพจนานุกรมภาษาถิ่นใต้
References
กรมศิลปากร, กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์. (2529). วรรณกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2541). พจนานุกรม (ร.ศ.120). กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ.
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. (2545). สำนวนไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2526). คำซ้อนในภาษาไทยสมัยสุโขทัย. อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 6(1-2), 59-81.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2526-2527). คำซ้อนในภาษาไทยสมัยอยุธยา. อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 7(1), 75-120.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2531). บทความวิชาการ 20 ปี ภาควิชาภาษาไทย. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะ อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เจ คัสเวล. (2544). A Dictionary of the Siamese Language (1846). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์, ผู้รวบรวม. (2512). ประชุมวรรณคดีไทยภาคพิเศษ ทวาทศมาสโคลงดั้นพร้อมทั้งพระวิจารณ์ ของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร. พระนคร : โรงพิมพ์ศิริมิตรการพิมพ์.
ชวนพิศ อิฐรัตน์. (2518). การใช้คำและสำนวนในสมัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชอง-บาติสต์ ปาเลอกัว. (2542). สัพะ พะจะนะ พาสาไท. กรุงเทพฯ : สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวง ศึกษาธิการ.
ซ่อนกลิ่น พิเศษสกลกิจ. (2489). ภาษาจีนและภาษาไทยถิ่นเป็นประโยชน์เพียงใดในการค้นคว้าหาที่มาของคำในภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ซ่อนกลิ่น พิเศษสกลกิจ. (2532, เมษายน-2533, มีนาคม). ภาษาถิ่นในคำซ้อน. ภาษาเเละหนังสือ, 22(1-2), 39-47.
แดนบีช บรัดเล. (2514). อักขราภิธานศัพท์ (Dictionary of Siamese language 1873). พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา.
ตำรา ณ เมืองใต้. (2502). ประชุมวรรณคดีไทย ภาค 1 : กำสรวลศรีปราชญ์. พระนคร : ไทยวัฒนาพานิช.
ธรรมาธิเบศ, เจ้าฟ้า. (2550). พระมาลัยคำหลวง. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นิตยา กาญจนะวรรณ. (2525). วรรณกรรมอยุธยา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บรรทม รุ่งเลิศ. (2516). ภาษาอีสานในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บุญเตือน ศรีวรพจน์. (2543). คำฉันท์สรรเสริญพระเกียรติสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงปราสาททอง. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
บุญเตือน ศรีวรพจน์. (บ.ก.). (2545). คำฉันท์ดุษฎีสังเวย คำฉันท์กล่อมช้าง ครั้งกรุงเก่าและคำฉันท์คชกรรมประยูร. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
เบ็ญจมาศ บางอ้น. (2529). การสร้างคำในภาษาไทยสมัยอยุธยา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประเสริฐ ณ นคร. (2546, มกราคม-มีนาคม). ภาษาถิ่นกับศิลาจารึก. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 27(1), 186-196.
ประเสริฐ ณ นคร. (2547). โคลงนิราศหริภุญชัย. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2515). การใช้ภาษาร้อยแก้วในภาษาไทยสมัยอยุธยา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา (ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติเเละฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส) เเละพงศาวดารเหนือของพระวิเชียรปรีชา (น้อย). (2504).พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา.
พระวรเวทย์พิสิฐ. (2513). คู่มือลิลิตพระลอ. พระนคร : คุรุสภา.
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช. (2551). พจนานุกรมภาษาถิ่นใต้ พุทธศักราช 2550 ฉบับเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช.
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด. (2534). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง (ตอนที่ 1 อักษร ก ถึง ฝ). กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด.
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด. (2534). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง (ตอนที่ 2 อักษร พ ถึง ฮ). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2544). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา : โคลงยวนพ่าย. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตย-สถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา : มหาชาติคำหลวง. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตย- สถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน (2550). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา : อนิรุทธคำฉันท์. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตย- สถาน.
ราตรี ธันวารชร. (2551). การสร้างคำในภาษาไทยสมัยอยุธยา : วิธีสร้างคำประสม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
ลัลนา ศิริเจริญ. (2518). คู่มือลิลิตยวนพ่าย. กรุงเทพฯ : อักษรวิทยา.
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสฺสมหาเถระ). (2515). พจนานุกรมภาคอีสาน-ภาคกลาง. พระนคร : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สมภพ มีบุญ. (2544). ถ้อยคำสำนวนร้อยแก้วสมัยอยุธยาตอนต้นที่ไม่ปรากฏในปัจจุบัน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์. (2510). ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1. พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.
สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์. (2510). ประชุมพระตำราบรมราชูปทิศเพื่อกัลปนา สมัยอยุธยา ภาค 1. พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.
สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์. (2530). ประวัติโกษาปานและบันทึก การเดินทางไปฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ : วิกตอรี่เพาเวอร์พอยท์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น