รูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

ผู้แต่ง

  • สมหมาย เทียนสมใจ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การบริหารงานที่มีประสิทธิผล, สำนักงานขตพื้นที่การศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบองค์ประกอบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และรูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ตัวอย่างที่ให้ข้อมูล แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่มในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และประธานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา การวิจัยแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาวิเคราะห์กรอบแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานที่มีประสิทธิผล 2) วิเคราะห์ความเป็นไปได้และพัฒนารูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึษา 3) ตรวจสอบและสร้างรูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่เหมาะสม 4) ปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย ภาวะนำการเปลี่ยนแปลง การวางแผนกลยุทธ์ องค์การแห่ง การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ เทคโนโลยีสารสนทศ และสนับสนุนการมีส่วนร่วม 2. รูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามีความเหมาะสมถูกต้อง เป็นไปได้และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้และสอดคล้องกับกรอบแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การดำเนินการตามกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

จิรวรรณ เลงพานิย์ และกฤตพา แสนชัยธร. (2552). องค์ประกอมที่ส่งผลต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ระดับอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. มหาสารคาม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชูศรี พรมจันทร์. (2543). การศึกษาความต้องการใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหารในสหวิทยาเขตศรีนครินทร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ญาณิศา บุญจิตร์. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ต้องตา กิจขันธ์. (2547). การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา: สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ทวีวรรณ อินดา. (2552). การพัฒนารูปแบบที่มีประสิทธิภาพของการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิติมา เทียนทอง. (2544) ภาวะผู้นำของผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาในศตวรรษหน้า. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

บังอร ศรีสุทธิกุล. (2544). อิทธิพลของภาวะผู้นำและการรับรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการบริหารโรงเรียนตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตบรมราชชนนี 1. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

บุญเหลือ เมธโยคม. (2545). ความต้องการการพัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พิทักษ์ อู่ทรัพย์. (2549). การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู และผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มาลี ธรรมศิริ. (2543). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้โดยผ่านหน่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในฐานะส่วนขยายของการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รังสรรค์ โฉมยา. (2546). ประสิทธิผลขององค์กรตามกรอบแนวคิดของความเป็นเลิศด้านพฤติกรรมการบริการสุขภาพในโรงพยาบาลของรัฐ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ลือชัย จันทรโป๊. (2546). รูปแบบการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนอาชีวคาทอลคิกในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

วรรณวิไล วรวิกโฆษิต. (2540). การศึกษาการมีส่วนร่วมของกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วันชัย ธงชัย. (2547). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. (2542). องค์การเรียนรู้สู่องค์กรอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.

วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2552). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศศกร ไชยคำหาญ. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศันสนีย์ จะสุวรรณ์. (2550). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริวรรณ พูลสมบัติ. (2548). พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดกาญจนบุรี. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมถวิล ชูทรัพย์. (2538). การใช้พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อขวัญในการปฏิบัติงานของครูเทศบาล โรงเรียนสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยา เขตการศึกษา 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมพร เมืองแป้น. (2548). ภาวะผู้นำเปลี่ยนแปลงกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุภาวดี นพรุจจินดา. (2553). องค์ประกอบภาวะผู้นำของผู้บริหารวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2543). สู่มิติการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. วารสารวิชาการ, 3(6), 70-74.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ประกาศผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปึงบประมาณ พ.ศ.2552 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ.2552-2561. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

อภิวรรณา แก้วเล็ก. (2542) ภวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อุไรวรรณ แย้มนิยม. (2544). การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อวัสดา อรัญญะ. (2548). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาในเขตการศึกษา 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Bennette, J. & O’Brien, M. (1994). The Building Block of the Learning Organization,” Tranining. 31,6 August.

Brown, W. A. (2000). Organizational Effectiveness in Nonprofit Human Service Organization : The Influence of the Board of Directors. Dissertation Abstracts International-B

Campbell, J.P. & Beaty, E.E. (1977). On the Nature of Organizational Effectiveness. In New Perspectives on Organizational. San Francisco: Publishers.

Katz D, & Kahn, R.L. (1978). The Social Psychology of Organizations. New York: John Wiley & Sons.

Gibson, J.L. ; Ivancevich, J.M. ; & Donnally, J.H. (1979). Organizational Behavior, Structuer, Process3rd. ed. Dallas: Texas: Business. Publishing.

Kaiser, S.M. (2000). Mapping the learning organization : Exploring a model of organizational learning. Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy, Louisiana State University.

Mark, B.D. (1994). Implementation of Strategic Planning in a Public School Setting :A case Study. Dissertation Abstract International.

Milton, C.R. (1981). Human Behavior in Organization (Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Michael, M.J. (1996). Building the Learning Organization: A system approach to quantum improvement and global success. New York: Mc Graw – Hill.

Michael, D. T. (2002). A Study of the Relationship between the Preferred Leadership Styles of School District Superintendents and the Capability of Become Professional Learning Organizations. Seton Hall University.

Nahavandi, A., & Malekzadeh, A.R. (1999). Organizational Behavior : The person organizational fit. New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Paul, E.M. (1972). The Characteristic of Effcient Organization. N.Y.: Harper and Row 9.

Richard, D. L. (1999). Leadership theory and practice. Fort worth: Tax Dryden Press.

Richard, M. S.(1977). Organizational Effectiveness: A Behavioral View Santa Monica, California: Goodyear Publishing company, Inc.

Sandra, M. K. (2000). Mapping the Learning Organization : Exploring A Model of Organizational learning. Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy, Louisiana State University.

Williams, R. S. (1998). Performance Management : Perspectives on Employee Performance. London: An International Thomson Publishing Company

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-13