ปัจจัยในการทำนายพฤติกรรมการออมของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • วิไลลักษณ์ เสรีตระกูล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการออม, ฐานะทางการเงินของครอบครัว, เงินที่ได้รับจากผู้ปกครอง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออมและปัจจัยในการทำนายพฤติกรรมการออมของนักศึกษา ปัจจัยที่นำมาพิจารณาประกอบด้วย เพศ ระดับการศึกษาของบิดา ฐานะทางการเงินของครอบครัว เงินที่ได้รับจากผู้ปกครอง ทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อการออมและการใช้จ่าย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีในเขต กรุงเทพมหานครจำนวน 455 คน พบว่า นักศึกษาร้อยละ 73 มีการออมเงินและเก็บเงินออมด้วยวิธีการฝากธนาคาร โดยจะออมไว้ประมาณร้อยละ 10-25 ของรายได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ การถดถอยแบบโลจิสติคทวิพบว่า การที่นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการออมเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมพฤติกรรมการออมของนักศึกษา ในขณะที่การมีทัศนคติชอบการใช้จ่ายและการมีทัศนคติไม่สนใจเงินทองมีผลทางลบต่อพฤติกรรมการออมของนักศึกษา ส่วนเพศ ระดับการศึกษาของบิดา ฐานะทางการเงินของครอบครัว และเงินที่ได้รับจากผู้ปกครองไม่มีผลในการทำนายพฤติกรรมการออมของนักศึกษา

References

ปิยรัตน์ กฤษณามระ พัชราวลัย ชัยปาณี เมธินี วณิกกุล รัฐชัย ศีลาเจริญ และนาถฤดี ศุภกิจจารักษ์. (2554). พฤติกรรมการออมและปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการออมของผ้อู อมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 33, 93-119.

พรภัทร อินทรวรวัฒน์ และคณะ. (2555). ปัจจัยและเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อการออมของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. วารสารเกษตรศาสตร์ (สาขาสังคมศาสตร์), 33, 55-66.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2554, จาก http://www.moe.go.th/data_stat/

Friedline, T. (2012). Predicting savings from adolescence to young adulthood: Early access to saving to savings leads to improved saving outcomes. Doctoral Dissertation: University of Pittsburgh.

Friedline, T, Elliott, William, & Nam, Ilsung. (2011). Predicting savings from adolescence to young adulthood: A propensity score approach. Journal of the Society of Social Work and Research, 2 (1), 1-22 doi:10.5243/jsswr.2010.13

Furnham, Adrian. (1999). The saving and spending habits of young people. Journal of Economic Psychology, 20, 677-697.

Hair, Joseph F, Anderson, Rolph E, Tatham, Ronaid L, & Black, WC. (1998). Multivariate data analysis (5th ed.) Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Katona, George. (1975). Psychological economics. New York: Elsevier.

Lewis, Alan, Webley, Paul, & Furnham, Adrian. (1995). The new economic mind. The socialpsychology of economic behavior. Hemel Hempstead, UK: Harvester Wheatsheaf.

Mason, Lisa Reyes, Nam, Yunju, Clancy, Margaret, Kim, Youngmi, & Loke, Vernon. (2010). Child development accounts and saving for children’s future: Do financial incentives matter? Children and Youth Services Review, 32 (11), 1570-1576. doi:10.1016/j.childyouth.2010.04.007

Schindler, DR, & Cooper, PS. (2001). Business research methods, (7th edn). Singapore: Mc Grow-Hill.

Sherraden, Margaret Sherrard, Johnson, Lissa, Guo, Baorong, & Elliott, William. (2011). Financial capability in children: Effects of participation in a school-based financial education and savings program. Journal of Family and Economic Issues, 32, 385-399.

Termprasertsakul, Santi, & Kulsiri, Panid. (2011). Demography, perceived risks, desired benefits, and saving behavior of Thai consumers. International Business & Economics Research Journal, 8(7), 11-18.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-17