ผลิตภัณฑ์หินแห่อีสาน
คำสำคัญ:
ลูกรัง, ผลิตภัณฑ์, อีสานบทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอ ลูกรัง หรือ “หินแห่” ซึ่งเป็นวัสดุจากธรรมชาติที่นิยมใช้ในการก่อสร้างเส้นทางจราจร ลูกรังพบมากเป็นบริเวณกว้างตลอดทั้งภาคอีสานซึ่งเป็นแหล่งของลูกรังขนาดใหญ่ของประเทศไทย เหมาะสำหรับการเป็นวัตถุดิบในการสร้างผลิตภัณฑ์จากเม็ดลูกรังที่สอดคล้องเหมาะสมกับท้องถิ่น อีกทั้งเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่วัสดุจากธรรมชาติให้เกิดความหลากหลายทางด้านความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ และความสวยงาม แหล่งลูกรังในอีสานส่วนใหญ่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่สูงและรกร้างไม่ปรากฏ การทำกสิกรรมเม็ดลูกรังมีขนาด 1/5-1/4 นิ้ว ลักษณะเม็ดกลมมนและมีสีคล้ายสนิมเหล็ก เนื่องจากมีธาตุเหล็กผสมอยู่ในปริมาณสูง เมื่อผ่านกระบวนการผลิตได้ผลิตภัณฑ์จากเม็ด ลูกรังในอีสานที่มีรูปแบบแปลกใหม่ผลิตจากวัตถุดิบใหม่ โดยการใช้วัสดุประสานกับเม็ด ลูกรัง สามารถประยุกต์เพื่อผลิตและพัฒนาได้เองในท้องถิ่นและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่วัสดุจากธรรมชาติ
References
กระทรวงคมนาคม.(2528).กลสมบัติดินลูกรังในประเทศไทย กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม.
นท แสงเทียน และคณะ.(2548).ศิลาแลงเทียม.วิศวกรรมสาร มข. 32 (4), 577-584.
ปริญญา นาตาลัย.(2528).ดินลูกรังแม่รังและดินลมหอบ. ขอนแก่น:ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี,คณะเทคโนโลยี,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เพิ่มพูน กีรติกสิกร.(2530).ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยขอนแก่น: คณะเกษตรศาสตร์,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สามารถ จับโจร.(2549).การศึกษาเครื่องปั้นดินเผาของอีสานเพื่อประยุกต์ใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25 (1), 76-84.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.(2519).มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอิฐประดับคัลเเซียมซิลิเกตหรืออิฐปูนขาวทราย มอก.167-2519 กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.(2519).มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอิฐ ประดับ มอก.168-2519 กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.(2519).มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอิฐ. กลวง มอก.169-2519.กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนอุตสาหกรรม.(2547).มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอิฐกลวง มผช.602-2547 กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ.
อาคม เสงี่ยมวิบูล.(2555).บล็อกปูพื้นจากเม็ดลูกรังในอีสาน” วารสารเกษมบัณฑิต, 13 (1), 85-94.
อาคม เสงี่ยมวิบูล, สามารถ จับโจร และ ศักดิ์ชาย สิกขา. (2551). “การใช้เม็ดลูกรังอีสานทำผลิตภัณฑ์ตกแต่งอาคาร” วารสารศิลปกรรมบูรพา, 10 (2), 13-24.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น