การพัฒนาฐานความรู้ภาษาไทยระดับอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • อัญชลี ทองเอม สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ฐานความรู้ภาษาไทย, ฐานความรู้ภาษาไทยระดับอุดมศึกษา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาฐานความรู้ฯ ภาษาไทยระดับอุดมศึกษาและศึกษารูปแบบและผลการจะนำฐานความรู้ฯ ไปใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์ผู้สอนรายวิชาภาษาไทยจากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ฐานความรู้ฯ และแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบวิธีการจะนำฐานความรู้ฯ ไปใช้และความพึงพอใจในฐานความรู้ฯ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละและค่าเฉลี่ย

ผลการวิจัยพบว่า 1) ฐานความรู้ภาษาไทยระดับอุดมศึกษาที่พัฒนาไว้บน เว็บไซต์ที่ URL: www.anchali-t.com/thaikb/ ประกอบด้วย 3 กลุ่มคือ แหล่งความรู้ด้านภาษาไทย แหล่งทรัพยากรการเรียนการสอนภาษาไทยจากเว็บไซต์สื่อมวลชน และแหล่งทรัพยากรในประเทศและต่างประเทศด้านการพัฒนาวิชาชีพครู เมนูหลักอื่นๆ ได้แก่ การสืบค้นฐานความรู้ การให้ความช่วยเหลือและการติดต่อสื่อสาร 2) ผลการศึกษารูปแบบและวิธีการจะนำฐานความรู้ฯ ไปใช้ พบว่ามี 3 รูปแบบสอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมาคือ การใช้เป็นสื่อหลักในห้องเรียน สื่อเสริมนอกห้องเรียนและสื่อ สำหรับตนเองเพื่อการสอนและการค้นคว้า ความพึงพอใจในการจะนำฐานความรู้ฯ ไปใช้ อยู่ในระดับสูงสุดทุกด้านทั้งด้านเนื้อหาด้านการจัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีและ รูปแบบการนำเสนอคิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.83, 3.94 และ 3.85 ตามลำดับ

References

กิดานันท์ มลิทอง. 2542. สรรค์สร้างหน้าเว็บไซต์และกราฟิกบนเว็บ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา ปราบพาล. 2549. ครูสอนภาษาและบทบาทที่ต้องปรับเปลี่ยน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555. จาก http://pioneer.chula.ac.th/~pkanchan/html/cv.htm.

กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และ ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. 2544. สร้างระบบสารสนเทศบนเว็บด้วย FrontPage 2002. กรุงเทพฯ: เคทีพีคอมพ์แอนด์คอนซัล.

คณะกรรมการการจัดงานวันภาษาไทยแห่งชาติ. 2550. วันภาษาไทยแห่งชาติ 2550. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. สำนักงาน. 2543. ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ครรชิต มาลัยวงศ์. 2542. ทัศนะไอที. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

โครงการการศึกษาไร้พรมแดน. 2001. ฐานความรู้. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550. Available: http:// www.borderless2.sut.ac.th/WebBorder/index.htm

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2541. ทรัพยากรเพื่อการศึกษา. รายงานวิจัยประกอบการร่างพระราชบัญญัติการศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

ไทยปัญญา จันปุ่ม. 2534. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจในการประยุกต์ใช้กับการใช้ความรู้วิชาฟิสิกส์ในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาวิทยาศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงคราญ ใจปัญญา. 2542. การพัฒนาสื่อประเภทฐานความรู้สำหรับวิชาภาษาฝรั่งเศสเพื่อการท่องเที่ยว 2. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาฝรั่งเศส, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิคม ทาแดง, กอบกุล ปราบประชา และอำนวย เดชชัยศรี. 2546. เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ.สำนักการปฏิรูปการศึกษา.

พนิตนาฏ ชูกฤษ์. 2549. การพัฒนาฐานความรู้ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนด้วยอิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พัชราพร รัตนวโรภาส. 2552. การพัฒนาฐานความรู้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษสำหรับระดับปริญญาตรี ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พัชรี บุศราวงส์ และคณะ.( แปลและเรียบเรียง). 2547. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่.กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

พีราวุฏฐ์ พิมพ์รอด. 2553. การพัฒนาฐานความรู้ เรื่องเคมีระดับมัธยม ศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยืน ภู่วรวรรณ และ สมชาย นำประเสริฐชัย. 2546. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ราชา มหากันธา. 2551. การพัฒนาฐานความรู้การจัดการกลยุทธ์เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียน การสอนด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระดับปริญญาตรี ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. 2540. เรียนรู้ภาษา HTML กับการเขียนโฮมเพจสำหรับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

วิลาศ วูวงศ์และบุญเจริญ ศิริเนาวกุล. 2535. ระบบผู้เชี่ยวชาญ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.

วีรจินต์ นาคะนิเวศน์. 2551. การออกแบบเว็บไซต์ .สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551. Available: http:/www.pm.ac.th/vrj/web/design.htm

สกาวเดือน มงคลสุคนธรัก. 2539. การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตัวเองเรื่องกระบวนการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 หลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ (เทียบเท่าปริญญาตรี). วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมทรง สิทธิ. 2551. การพัฒนาฐานความรู้หลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระดับปริญญาตรี วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมถวิล ธนะโสภณ นาตยา ปิลันธนานนท์ และมธุรส จงชัยกิจ. 2550. การพัฒนาทรัพยากรการศึกษาส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ด้านหลักสูตร

และการสอน เอกสารรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . 2543. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:บริษัทพริกหวาน จำกัด.

อรรคเดช โสสองชั้น.2008. ความหมายของนวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2550. http://ceit.sut.ac.th/km/wordpress/?p=138

อัครวุฒิ ตำราเรียง. 2549. สร้างเว็บแบบมืออาชีพด้วย mambo. กรุงเทพฯ: พิชัย อดิศร คอนซัลติ้ง.

อัชรี เอกโทชุน. 2546. การพัฒนาระบบสารสนเทศแบบเครือข่ายเสมือนช่วยการเรียน การสอนด้านการพยาบาลอนามัยชุมชน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Ahellal,M. 1990. Using Authentic Materials in the classroom : Theoretical Assumptions and Practical Considerations.English Teaching Forum 12.April,37-39.

Ashenhurst, J. 2001 “Designing Successful Web Site” Internet 05/01 (Online). Available: www.roughnotes.com/mmag/mag.htm, July 14 ,2001, March 20, 2005.

Brahmawong, C. 2005. E-Learnig Courseware Production System : University Press, pp. 7.14.

Devitt ,sean et al.1994. Teaching Modern Language. Routledge:London and New York in associations with the open University. Available: http:// www.stemnet.nf.ca/~achafe/Internetinclassroom.html.

Foley K. 1990. Using Authentic Materials in the classroom: Theorical Assumptions and Practical Consideration, English Teaching Forum.

Gulsun Kurubacak. 2000 Online Learning: A study of students attitudes towards web-based instruction (WBI). Ed.D. University of Cincinnati (online) Available : http://wwwlib.umi.com/disertations/fullcit/9973125

Januszewski, A. 2001. Educational technology: the development of a concept. Colorado: Libraries Unlimited, Inc.

Kapoun, J. 1998. Teaching Undergrads WEB Evaluation : A Guide for Library Instruction. C&RL News, 59 (7), (Online). Available: http:// www.library. cornell.edu/olinuris/ref/research/webcrit.html

Lynch, P.and S. Horton.1999. Web Style Guide : Basic Design Principles for Creating Web Site. New Haven and London: Yale University Press.

Nielsen,J. 1999. Ten Good Deeds in Web Design (Online) Available: www.useit.com/alertbox/991003.html, December 15, 2007.

Robinson ,P. 1980. ESP (English of specific purpose).Oxford: Pergamon.

Vallance , M. 1996. The Design and Utilisation of an Internet Resource for Business English Learners.(Online). Available : http://iteslf.or/Articles/Vallance-Business/index.html

Voss, L. et al. 2009. OECD Study on digital Learning Resources as Systemic innovation. Country Case Study Report on Denmark.

Wilkins, D. 1976. Notional Syllabuses. Oxford: Oxford University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-06