การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
คำสำคัญ:
การรู้เท่าทันสื่อ, การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศบทคัดย่อ
การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับคนในยุคปัจจุบัน การส่งเสริมให้การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศขยายศักยภาพของคนในด้านสิทธิมนุษยชน ตาม Article 19 ของ The Universal Declaration of Human Rights ซึ่งกล่าวว่า “ทุกคนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออกอย่างเสรี สิทธินี้รวมทั้งเสรีภาพในการออกความคิดเห็นโดยปราศจากการแทรกแซงและการค้นหา การรับข้อมูล ข่าวสารและความคิดผ่านทางสื่อมวลชนอย่างไร้พรมแดน” ซึ่งหากรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศแล้วจะทำให้เกิดประโยชน์ในกระบวนการสอนและการเรียนรู้ ทำให้ครูได้ขยายความรู้ในการเสริมพลังพลเมืองในอนาคต การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศให้ความรู้สำคัญเกี่ยวกับหน้าที่ของช่องทางสารสนเทศและสื่อในสังคมประชาธิปไตย ความเข้าใจอย่างมีเหตุผลเกี่ยวกับเงื่อนไขที่จำเป็นในการทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและทักษะที่จำเป็นขั้นพื้นฐานในการประเมินการทำงานของผู้ถ่ายทอดสื่อและสารสนเทศในมิติของหน้าที่ทคาดหวัง นอกจากนี้สังคมที่มีการรู้เท่าทันสื่อและการรู้เท่าทันสารสนเทศเน้นการพัฒนาสื่อที่มีเสรีภาพเป็นอิสระและหลากหลายรวมทั้งเปิดระบบสารสนเทศ
References
พรสิทธิ์ พัฒธนานุรักษ์. (ก.ค.-ธ.ค. 2551). “พลานุภาพข้อมลู ข่าวสารในการรู้เท่าทันสื่อมวลชน” วารสารห้องสมุด ,52 , 2
Celot, P. & Perez Tornero, J.M. (2009). “Study on Assessment Criteria for Media Literacy: Final Report.Brussels” The European Commission.
บุบผา เมฆศรีทองคำ.(2554). “Media Literacy: Keeping Pace with Information Age” สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2554 ,จาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_11/pdf/aw16.pdf
นฤมล รื่นไวย์.(2552). “จอตู้ (ต่างแดน) เลาะดูขบวนการปกป้องเด็ก” สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2554 , จาก http://info.thaihealth.or.th/library/hot/12381
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. “ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ” ,สืบค้นวันที่ 2 ตุลาคม 2554 http://www.ops.go.th/ictc/index.php/ictc-km/it-library/48-it-articles/89--informationtechnology?start=1
พรทิพย์ เย็นจะบก. (2552). “ถอดรหัสลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ”, สืบค้นวันที่ 20 ตุลาคม 2554 , จาก http://www.milthailand.org/index.php?option=com_content&view=article&id=648%3A2011-10-09-06-55-47&catid=93%3A-ebook&Itemid=26&lang=th
ศรีดา ตันทะอธิพานิช .(2554). “ชุดการสอนเสริมทักษะการใช้อินเทอร์เน็ตสร้างสรรค์และปลอดภัย” สืบค้นวันที่ 20 ตุลาคม 2554, จาก www.safecyberspace.org/files/_UpdateOct2551..ppt
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น