พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยหลังเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง
คำสำคัญ:
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ, ทัศนคติของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ, ความไม่สงบทางการเมือง, นักท่องเที่ยวบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา 1.คุณภาพการบริการที่สามารถทำนายพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวที่มีต่อประเทศไทยในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง 2. ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีต่อประเทศไทยในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง 3. ข้อมูลส่วนตัวที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง 4. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารของนักท่องเที่ยวกับพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวที่มีต่อประเทศไทยในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง และ 5. ความ สัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวที่มีต่อประเทศไทยในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมืองกับแนวโน้มการกลับมาท่องเที่ยวกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มากับบริษัทท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเองหลังเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลจากการวิจัย พบว่า นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ อาชีพ สถานภาพ แตกต่างกันมีพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยแตกต่างกัน การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของนักท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ค่านิยมของนักท่องเที่ยวและรูปแบบการดำเนินชีวิตของนักท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คุณภาพการบริการสามารถพยากรณ์พฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทัศนคติของนักท่องเที่ยวที่มีต่อประเทศไทยสามารถพยากรณ์พฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 พฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการกลับมาท่องเที่ยวในประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2529).รายงานสถิติประจำปี 2529. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2548).รายงานสถิติประจำปี 2548. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2551).รายงานสถิติประจำปี 2551. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2545). การวิเคราะห์สถิติสำหรับการบริหารและการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จำเนียร ช่วงโชติ และคนอื่นๆ. (2525). จิตวิทยาการรับรู้และการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศาสนา.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิรยุทธ บุญแต่ง. (2546). ทัศนคติและความประทับใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อประเทศไทย.กรุงเทพฯ สาระนิพนธ์ (รัฐศาสตร์) : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2541). การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ตุ้ย ชุมสายและญิบพัน พรหมโยธี. (2527). ปฐมบทแห่งวิชาการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธงชัย สันติวงษ์. (2540). การศึกษาการบริหารพฤติกรรมองค์การเชิงบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
_____________. (2535). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธีรกิติ นวรัตน์ ณ อยุธยา. (2547). การตลาดสำหรับการบริการแนวคิดและกลยุทธ์, พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายงานขั้นสุดท้าย. (2545). โครงการ : สำรวจพฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการท่องเที่ยวในประเทศไทย, กรุงเทพฯ : ศูนย์บริการวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บูรพา เลาหะรัตนะวิบูลย์. (2549). ทัศนคติ พฤติกรรม ต่อคลินิกทันตกรรมและปัจจัยในการเลือกใช้บริการกับคลินิกทันตกรรม ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์หมาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
พงศกร รอดชมภู.พันเอก (2540). การมีส่วนร่วมทางการเมืองไทย : ศึกษากรณปัจจัยที่ทำให้การประท้วงมีความยาวนาน กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์. (รัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
พงศกร สมัครสโมสร. (2550). ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำภายหลังการเกิดอากาศยานอุบัติเหตุของสายการบินวัน-ทู-โก กรุงเทพ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เพ็ญพัชร สุวรรณสนธิชัย. (2547). ทัศนคติและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สารนิพนธ์ บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เพ็ญลักษณ์ เกตุทัต. (2546). ทัศนคติและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวในเกาะเสม็ด สารนิพนธ์ บธ.ม. (การจัดการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นายธฤต บุษยพันธ์. (2550). การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการใช้บริการท่าอากาศยานดอนเมืองของผู้โดยสารต่างชาติ สารนิพนธ์ กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
เมษยา สดสี. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อสินค้าหัตถกรรมของนักท่องเที่ยวต่างชาติในตลาดนัดจตุจักร สารนิพนธ์ บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วีระรัตน์ กิจเลิศไพโรจน์. (2547). การตลาดธุรกิจบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.
ศิริพร ธรรมภักดี. (2539). ผลกระทบของวิกฤติการณ์ทางการเมือง ต่อการท่องเที่ยวของไทย: กรณีศึกษาพฤษภาทมิฬ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (รัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ถ่ายเอกสาร.
ศิริพร วิษณุมหิมาชัย .(2549). การสร้างความประทับใจแก่ลูกค้าด้วยคุณภาพและคุณค่าในงานบริการ (เอกสารประกอบการสอน). ไม่ปรากฏเลขหน้า.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2540). การโฆษณาและส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพฯ : A.N การพิมพ์.
________________. (2541) . พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: บริษัท. ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์
________________. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : ธีระฟิลม์และไซแท็กซ์.
ศุกกร ภัทรธนกุล. (2551). ปัจจัยในการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว ทัศนคติและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติต่อการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง : กรณีศึกษา พ.ศ. 2549-2550. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์ปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉ.115-116 พ.ค.-มิ.ย.51
สมิต สัชฌุกร. (2548) ศิลปะการให้บริการ, พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพ : สำนักพิมพ์วิญญูชน
สำนักพัฒนาการท่องเที่ยว. (2551) สถิตินักท่องเที่ยวต่างชาติ2550. กรุงเทพฯ : กรมฯ.
สุรางค์ จันทร์เอม. (2524). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูจันทรเกษม.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2533). การสื่อสารกับสังคม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2543). พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
_______________. (2546). การบริหารการตลาด กลยุทธ์และยุทธวิธี. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Bartley,S. Howard. (1969). Principles of Perception. New York : Marper & Row.
Courtland L. Bovee and John V. Thill. (1992). Marketing. New York : McGraw-Hill,Inc.
Eila,D. and G.M. Patrick. (1972,July). “The Determinants of Job Satisfaction Among Beginning Librarians” , Library Quarterly. 49(7) : 283-302.
Engel,James F. Blackwell,Roger D. & Miniard, Paul W. (1993). Consumer Behavior. 7thed. Fort Worth : The Dryden Press ,Inc.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. 3rded. New York : McGraw-Hill.
Gronroos, C. (1990). Service Management and marketing. The Nature of Service and Service Quality. Stockholm University, Sweden.
Kotler, Philip. (1993). Marketing Analysis ,Planning ,Implementation and Control. New Jersey. Prentice Hall ,Inc.
______________. (2000). Marketing Management the Millennium Edition. . New Jersey. Prentice Hall ,Inc.
__________. (2000). Marketing Analysis ,Planning ,Implementation and Control. 8thed. New Jersey. Prentice Hall ,Inc.
Lovelock, Christopher H, Services Marketing, Third Edition. New Jersey: Prentice Hall, Inc.1996.
Morse, Nancy C. (1958). Satisfaction in the White Collar Job. Michigan: University of Michigan Press.
Munn, Norman L. (1969). Introduction to Psycology. Boston : Houghton Mifflin.
Parasuraman, A.,V.A. Aeithmanl and L. Berry. (1985, February). “A Conceptual Model of Service Quality and Its Implication for Research”, Journal of Marketing. 49(4) : 79-84.
Robbins, S.P. (1966). Organization Behavior : Concept Controversies Applications. 7thed. New York : Prentice Hall Inc.
http://www.tourism.go.th/files/international_tourist_stat/International_Country_2007.XLS
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น