การใช้เขตอำนาจของรัฐต่อผู้กระทำความผิดโดยวิธีการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
คำสำคัญ:
การส่งผู้ร้ายข้ามแดนบทคัดย่อ
บทความนี้กล่าวถึงหลักเกณฑ์สำคัญของกฎหมายระหว่างประเทศในเรื่องเกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน เนื่องจากรัฐแต่ละรัฐไม่สามารถดำเนินการจับกุมบุคคลผู้กระทำความผิดตามกฎหมายอาญาของรัฐหนึ่งแต่อยู่ในรัฐต่างประเทศได้ เพราะรัฐแต่ละรัฐย่อมมีอำนาจอธิปไตยแห่งรัฐเหนือประชากรของรัฐภายในอาณาเขตดินแดนของรัฐตนเท่านั้น การส่งผู้ร้ายข้ามแดนจึงเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะป้องกันไม่ให้อาชญากรข้ามชาติใช้ข้อได้เปรียบจากข้อจำกัดของการบังคับใช้กฎหมาย หรือช่องว่างอันเกิดจากความแตกต่างของกฎหมายและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศเพื่อหลบหนีจากกระบวนการยุติธรรม
References
คมกริช ดุลยพิทักษ์ “การส่งผู้ร้ายข้ามแดน” สถาบันกฎหมายอาญา สำนักงานอัยการสูงสุด
คณิต ณ นคร, ศ.ดร. “กระบวนการยุติธรรมเราไม่แพ้ประเทศใดในโลก” ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร กรุงเทพ : วิญญูชน 2552
จุมพต สายสุนทร, ศ.ดร. กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยเขตอำนาจของรัฐและความคุ้มกันจากเขตอำนาจของรัฐ กรุงเทพ : วิญญูชน 2538
ปรวิชย์ มะกรวัฒนะ สำนักงานต่างประเทศ สำนักงานอัยการสูงสุด
พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ.2551
สนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างไทยกับอังกฤษ จากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๒๘ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๑๓๐
สำนักงานต่างประเทศ “การยึดทรัพย์นายราเกซ สักเสนาในสวิสเซอร์แลนด์” www.inter.ago.go.th/kadee/kadee_1.htm 1 สค. 2547
อภิญญา เลื่อนฉวี รศ.ดร. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 2551
http://usinus.blogspot.com/และ www.nidambe11.net
The Universal Declaration of Human Rights 1948
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น