สมรรถนะทางวัฒนธรรมและวิธีปฏิบัติที่ดีในการสนับสนุนการปรับตัวข้ามวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อภิภา ปรัชญพฤทธิ์ ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สมรรถนะทางวัฒนธรรม, วิธีปฏิบัติที่ดี, การปรับตัวข้ามวัฒนธรรม, นักศึกษาต่างชาติในประเทศไทย

บทคัดย่อ

นโยบายการศึกษาไทยที่ต้องการเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย ทำให้มีการเคลื่อนย้ายนักศึกษาระหว่างประเทศและมีจำนวนนักศึกษาต่างชาติในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาไทยจึงต้องมีมาตรการสนับสนุนนักศึกษาต่างชาติในการปรับตัวข้ามวัฒนธรรม ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นสำคัญที่นำเสนอในบทความนี้คือ 1) สภาพปัญหาของนักศึกษาต่างชาติโดยทั่วไปและนักศึกษาต่างชาติในประเทศไทย โดยเฉพาะกลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุดคือนักศึกษาจีน 2) แนวคิดสมรรถนะทางวัฒนธรรม ครอบคลุม องค์ประกอบที่สำคัญและระดับพัฒนาการของสมรรถนะด้านนี้ 3) กระบวนการปรับตัวข้ามวัฒนธรรม ครอบคลุม รูปแบบ Revised W-shaped กับทฤษฏีการปรับตัวข้ามวัฒนธรรมของ Kim และ 4) วิธีปฏิบัติที่ดีสำหรับสถาบันอุดมศึกษา บุคลากรด้านกิจการนักศึกษาและ/หรือวิรัชกิจและอาจารย์ผู้สอนในการสนับสนุนกระบวนการปรับตัวข้ามวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติในประเทศไทย

References

กมลชนก ชำนาญ. (2556). การพัฒนาแบบวัดและการวิเคราะห์ระดับความสามารถทางวัฒนธรรมของครู. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2550). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). สืบค้น 4 กันยายน 2563, จาก http://www.sci.ubu.ac.th/assets/upload/files/HEPlan-Final.pdf

กษมาวรรณ ป้อมเมือง. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาจีนในหลักสูตรที่ใช้ภาษาไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์. (2553). การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณิชาภา จันทรเพ็ญ. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้และแบบวัดสมรรถนะข้ามวัฒนธรรมของครู : การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามภูมิหลังของครู (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไทยเป็นประเทศที่ต่างชาติอยากมาเรียนต่อมากเป็นอันดับ 1. (2542, กรกฏาคม). สยามรัฐออนไลน์. สืบค้น 4 กันยายน 2563, จาก https://siamrath.co.th/n/91817

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2559). การปรับตัวทางสังคมและวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติ: กรณีศึกษานักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมงคลศรีวิชัย, 8(2), 230-239.

เมตตา วิวัฒนานุกูล. (2559). การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). สถิติอุดมศึกษาปีการศึกษา 2561. กรุงเทพฯ: ชีโน พับลิชชิ่ง แอนด์ แพคเกจจิ่ง.

สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). กรอบแนวทางการดำเนินการตามมาตรฐานกิจการนักศึกษา. กรุงเทพฯ: ชีโน พับลิชชิ่ง แอนด์ แพคเกจจิ่ง.

สำนักงานเลขาธิการการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552-2559. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ.2561-2580. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

Badur, G. (2003). International students’ perspectives on their cross-cultural adjustment to American higher education (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No.3087861)

Bennett, J. M. (2009). Cultivating intercultural competence: A process perspective. In Deardorff, D. K. (Ed.), The SAGE handbook of intercultural competence (pp. 121-140). CA: Sage.

Chun, E., & Evan, A. (2016). Rethinking cultural competence in higher education: An ecological framework for student development. ASHE Higher Education Report, 42(4).

Deardorff, D. K. (2006). Identification and assessment of intercultural competence as a student outcome of internationalization. Journal of Studies in International Education. Retrieved September 4, 2020, from https://journals.sagepub.com/doi/pdf/10.1177/1028315306287002

Fantini, E. A. (2009). Assessing intercultural competence. In Deardorff, D.K. (Ed.), The SAGE Handbook of Intercultural Competence (pp. 456-476). CA: Sage.

International Education Association of Australia. (2013). Good practice principles in practice: Teaching across cultures. Retrieved September 15, 2020, from http://learningindiversity.com/learningindiversity.com/wp-content/uploads/2017/12/EN-Good-Practice-Principles-Teaching-across-cultures.pdf

Kim, Y. Y. (2009). The cross-cultural adaption theory. Encyclopedia of communication theory. Retrieved September 15, 2020, from http://dx.doi.org/19.4135/978412959384.n91

King, P. M., & Baxter Magolda, M. B. (2005). A developmental model of intercultural maturity. Journal of College Student, 46(6), 571-592.

Lavankura, P. (2013). Internationalizing higher education in Thailand: government and university responses. Journal of Studies in International Education, 17(5), 663-676.

Leung, K., Ang, S., & Tan, M. L. (2014). Intercultural competence. Annual Review of Organizational Psychology & Organizational Behavior, 1, 489-519.

Ren Zhiyuan, บุญเปี่ยม ศักดินา, และภารดี มหาขันธ์. (2555). การปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนในประเทศไทย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 20(34), 185-201.

Spitzberg, B. H., & Changnon, G. (2009). Conceptualizing intercultural competence. In Deardorff, D. K. (Ed.), The SAGE handbook of intercultural competence (pp. 2-52). California: Sage.

Tanner, G. G. (2013). The graduate experience of Mexican international students in US doctoral program (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3606508)

Ting, S. R., & Morse, A. (2016). Five things student affairs professionals can do to support international students: NASPA Research and Policy Institute Issue Brief. Retrieved September 15, 2020, from https://www.naspa.org/report/5-things-student-affairs-professionals-can-do-to-support-international-students

Ting-Toomey, S., & Dorjee, T. (2019). Communicating across cultures. NY: Guilford.

Xinquan, J. (2012). Chinese engineering students' cross-cultural adaptation in graduate school (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3429426)

Zhao, J. (2013). International students’ adjustment to American Higher Education Institutions in North Texas (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No.3595374)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-21