ผลกระทบของความสามารถในการดูดซับความรู้ส่วนบุคคลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่ม
คำสำคัญ:
การดูดซับความรู้ส่วนบุคคล, การสร้างความรู้ของกลุ่มบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของความสามารถในการดูดซับความรู้ส่วนบุคคล และการสร้างความรู้ในกลุ่ม 2) ศึกษาความสัมพันธ์ของความสามารถในการดูดซับความรู้ส่วนบุคคล ทั้งความสามารถในการดูดซับความรู้ที่แท้จริง และการดูดซับความรู้แฝงที่มีผลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่ม เครื่องมือในการศึกษาวิจัยใช้แบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับกับบริษัทเอกชน หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และสมาคมที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพจำนวน 492 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนาใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่ออธิบายผลข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม สถิติเชิงอนุมาน ใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(one way ANOVA) การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ด้วยวิธีเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านสถานภาพส่วนบุคคล ด้านอายุ ประสบการณ์ทำงาน และประเภทขององค์กรส่งผลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่ม นอกจากนี้ปัจจัยด้านความสามารถในการดูดซับความรู้ส่วนบุคคลมีอิทธิพลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่ม โดยความสามารถในการดูดซับความรู้ที่แท้จริงมีอิทธิพลต่อการสร้างความรู้ของกลุ่มมากกว่าการดูดซับความรู้แฝง
References
กรมส่งเสริมสหกรณ์. สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์. (2562). การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) เรื่อง Service Mind (การมีจิตใจในการให้บริการที่ดี). สืบค้น 31 ธันวาคม 2563, จาก http://km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_0425090418.pdf
ชลธิศ ดาราวงษ์. (2558). การเพิ่มสมรรถนะการดูดซึมความรู้ให้กับทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับ SMEs ไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 10(1), 4-14.
ธนิต รัชตะชาต. (2560). ปัจจัยองค์ประกอบที่ส่งผลต่อความสามารถเชิงพลวัตขององค์กรที่ดำเนินธุรกิจประเภทไอทีซิสเต็มอินทิเกรเตอร์และบริการด้านไอทีในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รวมศักดิ์ วีระสุนทร, อนุรักษ์ เรืองรอบ, และอภิชัย อภิรัตนพิมลชัย.(2559). อิทธิพลส่งผ่านของสมรรถนะการดูดซึมความรู้ที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารข้ามฝ่ายและความสำเร็จของโครงการผลิตภัณฑ์ใหม่. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 31(2), 72-81.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2559). กรณีศึกษาความสำเร็จและความล้มเหลวในการแบ่งปันความรู้ของ Xerox และ NASA. สืบค้น 31 ธันวาคม 2563, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/knowledge-management/3276-knowledge-sharing-of-xerox-nasa
Alexiou, A, Khanagha, S., & Schippers, M. (2018). Productive organizational energy mediates the impact of organizational structure on absorptive capacity. Retrieved December 31, 2020, from https://reader.elsevier.com/reader/sd/pii/S0024630117301097?token=9EBADDD0BB0C921A7075CCCCFD004936398324190447EAD81B863C623C90525DBB9AAB55981EF8314D170EE8288F55E2
Choong, Y., & Fang, C. W. (2006). Factors affecting knowledge transfer and absorptive capacity in multinational corporations. Retrieved December 31, 2020, from http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.403.2021&rep=rep1&type=pdf
Cohen, W. M., & Levinthal, D. A. (1990). Absorptive capacity: A new perspective on learning and innovation. Administrative Science Quarterly, 35, 128-152.
Gupta, A., & Govindarajan, V. (2000). Knowledge flows within MNCs. Strategic Management Journal, 21, 473-496.
Li, B. R. & Jia, J. (2015). Deng xiao ping caijing lilun yu xiandai caizheng zhidu. Beijing: China Financial and Economic Publishing House.
Marsh, S. J., & Stock, G. N. (2006). Creating dynamic capability: the role of intertemporal integration, knowledge retention, and interpretation. Journal of Product Innovation Management, 23(5), 422-436.
Mowery, David C., & Oxley, Joanne E. (1995). Inward technology transfer and competitiveness: The role of national innovation systems. Cambridge Journal of Economics, 19, 67-93.
Nonaka, I., & Takeuchi, H. (1995). The knowledge-creating company: How Japanese companies create the dynamics of innovation. New York: Oxford University.
Pai, F. Y., & Chang, H. F. (2013). The effects of knowledge sharing and absorption on organizational innovation performance : A dynamic capabilities perspective. Interdisciplinary Journal of Information, Knowledge and Management, 8, 83 -97.
Verona, G., & Ravasi, D. (2003). Unbundling dynamic capabilities: an exploratory study of continuous product innovation. Industrial and Corporate Change, 12(3), 577-606.
Wang, M. (2018). The mechanism of knowledge acquisition and integration on generative capability and innovation performance (Master’s thesis). Harbin: Harbin Institute of Technology.
Xuemei, Xie, Hailiang, Zou, & Guoyou, Qi. (2018). Knowledge absorptive capacity and innovation performance in high-tech companies: A multi-mediating analysis. Journal of Business Research, 88(c), 289-297.
Yun, J. (2018). Absorptive capacity, integration ability, network relationship, and innovation performance of small and medium high technology enterprises (Master' thesis). Nanjing: Nanjing University of Science and Technology.
Zahra, S., & George, G. (2002). Absorptive capacity: A review, reconceptualization, and extension. Academy of Management Review, 27(2), 185-203.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น