อิทธิพลของการติดสื่อสังคมออนไลน์ต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การติดสื่อสังคมออนไลน์, ภาวะสุขภาพจิต, นักศึกษามหาวิทยาลัยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอิทธิพลของการติดสื่อสังคมออนไลน์ต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยไทย จำนวน 555 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามภูมิภาค และคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทั้งหมด 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง แบบทดสอบการติดสื่อสังคมออนไลน์ แบบประเมินความรู้สึกว้าเหว่ฯ และแบบประเมินแบบประเมินภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล และความเครียด (DASS-21) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติอ้างอิง ประกอบด้วย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ การทดสอบการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย ผลการศึกษาพบว่า 1) การติดสื่อสังคมออนไลน์สามารถทำนายความรู้สึกว้าเหว่ (b=.251, R2=4.2%) 2) การติดสื่อสังคมออนไลน์สามารถทำนาย ภาวะซึมเศร้า (b=.219, R2=12.2%) 3) การติดสื่อสังคมออนไลน์สามารถทำนายความวิตกกังวล (b=.164, R2=9.2%) และการติดสื่อสังคมออนไลน์สามารถทำนายความเครียด (b=.189 R2=10.5%) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
References
กรมสุขภาพจิต. (2562). กรมสุขภาพจิต ห่วงวัยรุ่นเยาวชนไทยมีภาวะซึมเศร้า แนะคนรอบข้างรับฟังอย่างเข้าใจ. สืบค้น 16 ธันวาคม 2564, จาก http://www.prdmh.com
กระทรวงสาธารณสุข, สถาบันสุขภาพจิต. (2536). มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ธรรมศาสตร์.
จำลอง ดิษยวณิช, และพริ้มเพรา ดิษยวณิชง. (2545). ความเครียด ความวิตกกังวล และสุขภาพ. เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์.
ชลลดา ทวีคูณ. (2556). เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ: Personality development techniques (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ชาญวิทย์ พรนภดล และคณะ. (2556). แบบทดสอบการติดสื่อสังคมออนไลน์: Social Media Addiction Test: SMAT. สืบค้น 22 ธันวาคม 2564, จาก http://www.cumentalhealth.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539909352
ไชยรัตน์ บุตรพรหม. (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตชองวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดิศรณ์ แก้วคล้าย. (2553). ความวิตกกังวลตามสถานการณ์ของนักกีฬาบาสเกตบอลในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทินกร วงศ์ปการันย์, และณหทัย วงศ์ปการันย์. (2563). แบบประเมินความรู้สึกว้าเหว่ยูซีแอลเอ ฉบับ 20 ข้อ. สืบค้น 16 ธันวาคม 2564, จาก http://www.pakaranhome.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=2147586886
บงกช นักเสียง, ภัทรา หิรัญรัตนพงศ์, นิสรา คำมณี, ปวีณา แจ้งประจักษ์, จตุภัทร เมฆพายัพ, สีระ น้ำฟ้า, และ รจนกร ยิ่งชล. (2563). การติดสื่อสังคมออนไลน์ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบกับความเครียดของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา. Journal of Communication Chiangrai Rajabhat University, 3(2), 43-64.
บุษบา สุธีธร. (2564). ผลกระทบของสื่อสังคมที่มีต่อวัยรุ่น: The impacts of social media on adolescents. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 14(1), 34-48.
พงษ์ศักดิ์ ซิมมอนด์ส. (2560). การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรง: Linear regression analysis primary agreement’ s test. Journal of Research and Curriculum Development, 7(2), 20-37.
ภคมณฑน์ สาสะตานันท์. (2562). พฤติกรรมเสพติดสื่อสังคมออนไลน์และพฤติกรรมเลียนแบบจากสื่อสังคมออนไลน์กับภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 6(1), 19-36.
มุทิตา พนาสถิตย์. (2563). Recent knowledge on behavioral addiction: Social media addiction [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัยและนักวิชาการการเสพติด. สืบค้น 10 ธันวาคม 2564, จาก https://drive.google.com/file/d/1Ys3dAXHqHkWmy_9gWTdR3mqAeWThIWWs/view
มูลนิธิภิวัฒน์สาธารณสุขไทย. (2564). ประเมินสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นไทยกว่า 1.8 แสนราย พบเครียดสูง เสี่ยงซึมเศร้า ติดจอติดเกมออนไลน์มากขึ้น. สืบค้น 25 สิงหคม 2565, จาก https://www.hfocus.org/content/2021/10/23307
รายงานการวิจัยการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพจิต. (2545). สืบค้น 28 พฤศจิกายน 2564, จาก http://www.dmh.moph.go.th/faq/mentalhealth
โรงพยาบาลเพชรเวช. (2564). Social addiction ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ. สืบค้น 22 ธันวาคม 2564, จาก https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Social-Addiction-Affects-Mental-Health
ลลนา ปิยะอารีธรรม. (2552). การศึกษาความรู้สึกว้าเหว่และสัมพันธภาพกับเพื่อนของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วัลลภา โคสิตานนท์. (2542). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรมต่อการลดความรู้สึกว้าเหว่ในผู้สูงอายุ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจิตรพาณี เจริญขวัญ. (2557). จิตวิทยาคลินิกเบื้องต้น: Introduction to clinical psychology (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิลาวัลย์ ภูอาราม. (2553). การเปรียบเทียบความวิตกกังวล และพฤติกรรมการเผชิญความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มีสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน และการเห็นคุณค่าในตนเองแตกต่างกัน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมบัติ ตาปัญญา. (2526). คู่มือคลายเครียด: ความรู้เรื่องความเครียด การป้องกันและแก้ไข. กรุงเทพฯ: เหรียญบุญการพิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2563). นักศึกษารวม 2563 ภาคเรียนที่ 1 ใน สถาบันอุดมศึกษาทั้งหมด จำแนกตาม สถาบัน / กลุ่มสถาบัน / เพศ / (จังหวัดที่ตั้งสถาบัน). สืบค้น 14 ธันวาคม 2564, จาก http://www.info.mua.go.th/info/
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ETDA เผยโควิด-19 เป็นเหตุสังเกตได้ Gen Z ใช้เน็ตสูงสุด ปีแรก ชนะ Gen Y แชมป์ 6 สมัย. สืบค้น 16 ธันวาคม 2564, จาก https://www.etda.or.th/th/pr-news/ETDA-released-IUB-2021.aspx
Akin, A., & Iskender, M. (2011). Internet addiction and depression, anxiety, and stress. International Online Journal of Educational Sciences, 3(1), 138-148.
Association, A. P. (2013). Diagnostic and statistical manual of mental disorders. American USA: Psychiatric Publishing.
Baltaci, Ö. (2019). The predictive relationships between the social media addiction and social anxiety, loneliness, and happiness. International Journal of Progressive Education, 1, 73-82.
Cacioppo, J. T., & Patrick, W. (2008). Loneliness: Human nature and the need for social connection. W Norton & Co.
Culpepper, M. (2020). Exploring the relationships of social media usage and symptoms of anxiety and depression in adolescents. Digital Commons @ ACU, Electronic Theses and Dissertations. Retrieved December 21, 2021, from https://digitalcommons.acu.edu/etd/224
Frazer, C. J., Christensen, H., & Griffiths, K. M. (2005). Effectiveness of treatments for depression in older people. Medical Journal of Australia, 182(12), 627-632.
Haand, R., & Shuwang, Z. (2020). The relationship between social media addiction and depression: A quantitative study among university students in Khost, Afghanistan. International journal of adolescence and youth, 25(1), 780-786. doi:10.1080/02673843.2020.1741407
Hinduja, S., & Patchin, J. W. (2010). Bullying, cyberbullying, and suicide. Archives of suicide research, 14(3), 206-221.
Hou, Y., Xiong, D., Jiang, T., Song, L., & Wang, Q. (2019). Social media addiction: Its impact, mediation, and intervention. Cyberpsychology: Journal of Psychosocial Research on Cyberspace, 13(1).
Hughes, K. (2022). Social media use and loneliness during the COVID-19 pandemic electronic theses and dissertations. Retrieved December 25, 2021, from https://digitalcommons.georgiasouthern.edu/etd/2389
Karakose, T., Yirci, R., Uygun, H., & Ozdemir, T. Y. (2016). Relationship between high school students’ facebook addiction and loneliness status. Eurasia Journal of Mathematics, Science and Technology Education, 12(9), 2419-2429. doi:10.12973/eurasia.2016.1557a
Kelly, Y., Zilanawala, A., Booker, C., & Sacker, A. (2019). Social media use and adolescent mental health: Findings from the UK millennium cohort study. EClinicalMedicine, 6, 59–68. doi: 10.1016/j.eclinm.2018.12.005
Kircaburun, K. (2016). Self-Esteem, daily internet use and social media addiction as predictors of depression among Turkish adolescents. Journal of Education and Practice, 7(24), 64-72.
Lau, W. W. (2017). Effects of social media usage and social media multitasking on the academic performance of university students. Computers in Human Behavior, 68, 286-291.
Liu, C., & Ma, J. (2020). Social support through online social networking sites and addiction among college students: The mediating roles of fear of missing out and problematic smartphone use. Current Psychology, 39(6), 1892-1899. doi: 10.1007/s12144-018-0075-5
Odacı, H., & Kalkan, M. (2010). Problematic internet use, loneliness and dating anxiety among young adult university students. Comput. Educ., 55, 1091-1097.
Oei, T. P., Sawang, S., Goh, Y. W., & Mukhtar, F. (2013). Using the depression anxiety stress scale 21 (Dass-21) across culture. Int J Psychol, 48, 1018-1029. https://doi.org/10.1080/00207594.2012.755535
Ohl, F., Arndt, S. S., & van der Staay, F. J. (2008). Pathological anxiety in animals. Veterinary journal, 175(1), 18–26. doi: 10.1016/j.tvjl.2006.12.013
O'Keeffe, G. S., & Clarke-Pearson, K. (2011). The impact of social media on children, adolescents, and families. Pediatrics, 127(4), 800-804.
Paul, J. A., Baker, H. M., & Cochran, J. D. (2012). Effect of online social networking on student academic performance. Computers in Human Behavior, 28(6), 2117-2127. doi: 10.1016/j.chb.2012.06.016
Peplau, L. A., & Perlman, D. (1982). Loneliness: A sourcebook of current theory, research and therapy. New York: Wiley-Interscience.
Rodgers, B. L. (1989). Loneliness: Easting the pain of the hospitalized elderly. Journal of Gerontological Nursing, 15(8), 16-21.
Rosenberg, J., & Egbert, N. (2011). Online impression management: Personality traits and concerns for secondary goals as predictors of self-presentation tactics on facebook. Journal of Computer-Mediated Communication, 17(1), 1-18. doi:10.1111/j.1083-6101.2011.01560.
Ryan M., & Patterson, J. (1987). Loneliness in the elderly. Journal of Gerontological Nursing, 13(5), 6-12. doi: 10.3928/0098-9134-19870501-04
Satici, B., Kayiş, A. R., & Griffiths, M. D. (2021). Exploring the association between social media addiction and relationship satisfaction: Psychological distress as a mediator. International Journal of Mental Health and Addiction, 1-15.
Selye, H. (1978). The stress of life. New York: McGraw-hill.
Spielberger, C. D. (1966). Anxiety and behavior. New York: Academic Press.
Thorisdottir, I. E., Sigurvinsdottir, R., Asgeirsdottir, B. B., Allegrante, J. P., & Sigfusdottir, I. D. (2019). Active and passive social media use and symptoms of anxiety and depressed mood among icelandic adolescents. Cyberpsychology, Behavior and Social Networking, 22(8), 535–542. doi:10.1089/cyber.2019.0079
Vannucci, A., & Ohannessian, C. M. (2019). Social media use subgroups differentially predict psychosocial well-being during early adolescence. Journal of youth adolescence, 48(8), 1469-1493.
Wang, K., Frison, E., Eggermont, S., & Vandenbosch, L. (2018). Active public facebook use and adolescents' feelings of loneliness: Evidence for a curvilinear relationship. Journal of adolescence, 67, 35–44. doi: 10.1016/j.adolescence.2018.05.008
Woods, H. C., & Scott, H. (2016). Sleepyteens: Social media use in adolescence is associated with poor sleep quality, anxiety, depression and low self-esteem. Journal of adolescence, 51, 41–49. doi:10.1016/j.adolescence.2016.05.008
World Health Organization. (2012). Depression: A global public health concern. Retrieved December 25, 2021, from https://www.who.int/mental_health/management/depression/who_paper_depression_wfmh_2012.pdf
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row.
Young, K. S. (1998). Internet addiction: The emergence of a new clinical disorder. CyberPsychology & Behavior, 1(3), 237–244. doi: 10.1089/cpb.1998.1.237
Youssef, L., Hallit, R., & Kheir, N. (2020). Social media use disorder and loneliness: any association between the two? Results of a cross-sectional study among Lebanese adults. BMC Psychol, 8(56). doi: 10.1186/s40359-020-00421-5
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น