การจดจำตราสินค้าจากโฆษณาแฝงในสื่อภาพยนตร์: กรณีศึกษา ซีรีส์เกาหลีเรื่องนัดบอดวุ่นลุ้นรักท่านประธาน

ผู้แต่ง

  • กมลวรรณ สังข์เงิน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ชวนชื่น อัคคะวณิชชา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

ความน่าเชื่อถือของบุคคลที่มีชื่อเสียง, ทัศนคติต่อโฆษณา, การปรากฏตราสินค้าโดยใช้ภาพ, การปรากฏตราสินค้าในเนื้อหา, การจดจำตราสินค้า

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของความน่าเชื่อถือของผู้มีชื่อเสียง ที่ส่งผลต่อทัศนคติต่อโฆษณา อิทธิพลของการปรากฏตราสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ส่งผลต่อทัศนคติต่อโฆษณา อิทธิพลของทัศนคติต่อโฆษณาที่ส่งผลต่อการจดจำตราสินค้า อิทธิพลของการปรากฏตราสินค้าโดยใช้ภาพส่งผลต่อการจดจำตราสินค้า และ เพื่อศึกษาอิทธิพลของการปรากฏตราสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ส่งผลต่อการจดจำตราสินค้า โดยใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งทำการศึกษากับประชากรที่มีประสบการณ์รับชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “นัดบอดวุ่นลุ้นรักท่านประธาน”  จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของผู้มีชื่อเสียง การปรากฏตราสินค้าโดยใช้ภาพ การปรากฏตราสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทัศนคติต่อโฆษณา และการจดจำตราสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความน่าเชื่อถือของบุคคลที่มีชื่อเสียงและการปรากฏตราสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหามีอิทธิพลเชิงบวกต่อทัศนคติต่อโฆษณา การปรากฏตราสินค้าโดยใช้ภาพมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการจดจำตราสินค้า และการปรากฏตราสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหามีอิทธิพลเชิงบวกต่อการจดจำตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ในขณะที่ทัศนคติต่อโฆษณามีอิทธิพลต่อการจดจำตราสินค้าอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

References

กชพรรณ จักษ์เมธา. (2560). การเปิดรับ ทัศนคติที่มีต่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เป็นพรีเซนเตอร์โฆษณาชุดชั้นในของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. Ethesis Digital Archive. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5907011091_8311_8599.pdf

กสิณ ถิระกิจ, สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม, และธาตรี ใต้ฟ้าทูล. (2555). แนวทางการวางตราสินค้าในภาพยนตร์ประเภทรักวัยรุ่น. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 5(1), 63-82. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jprad/article/view/134253

กิตติ ประเสริฐสุข. (2561). South Korea's soft power: Strengths and limitation soft power ของเกาหลีใต้: จุดแข็งและข้อจำกัด. International Journal of East Asia Studies, 22(1), 122-139. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/easttu/article/view/144286

เขมณา พรหมรักษา. (2557). การรับรู้และทัศนคติของผู้บริโภคต่อโฆษณาแฝงทางโทรทัศน์: กรณีศึกษา: ละครชุดฮอร์โมน วัยว้าวุ่น [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2014/TU_2014_5602115197_1255_335.pdf

เคียงชนก บุญสุวรรณ. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจดจำและการรับรู้ตราสินค้า/บริการผ่านโฆษณาบนเกมออนไลน์ของประชากรในจังหวัดกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. DSpace at Bangkok University. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2360

จุฑารัตน์ คำสุรินทร์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่านโฆษณาแฝงในรายการทางโทรทัศน์ของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. DSpace at Bangkok University. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2270

ชนม์ธนัทกรณ์ อยู่ชยันตี และ วิฏราธร จิรประวัติ. (2553). ทัศนคติต่อโฆษณาและพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในโรงภาพยนตร์. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 3(4), 218-239. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jprad/article/view/134373

ชูชัย สมิทธิไกร. (2554). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โชติกา วิบูลย์ศิริวงศ์. (2560). การโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านช่องทางออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. DSpace at Bangkok University. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3711

โชติกา วิบูลย์ศิริวงศ์ และ ปฐมา สตะเวทิน. (2563). อิทธิพลของการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านอินสตาแกรมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์, 38(1), 27-38. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/169386

ณัฏฐ์หทัย เจิมแป้น. (2558). การโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สก๊อตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. Dspace Digital Collections. http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/2414

นิฤมล หิรัญวิจิตรภรณ์. (2558). ทัศนคติ การรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาออนไลน์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]. NIDA Wisdom Repository. https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4951

ปาจรีย์ เชาวน์ศิริ. (2558). ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาแฝงของผู้มีชื่อเสียงในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ปิยาอร เลิศวิภาพร. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบทัศนคติของผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลที่มีต่อการโฆษณาทางตรงและโฆษณาแฝงผ่านสื่อโทรทัศน์ของสินค้าประเภทรถยนต์ [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัญฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล]. CMMU Digital Archive. https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1225

ปุญชรัศมิ์ เตชะวชิรกุล. (2559). โฆษณาแฝงผ่านมุมมองทางจิตวิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(2), 17-36. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/65350

พิมลชญา สุขโข. (2564). การศึกษาการรับรู้และการจดจำโฆษณาแฝงประเภทน้ำแร่ในละครซิทคอมของกลุ่ม Generation Y [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล]. CMMU Digital Archive. https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4275

รัชนีกร วุฒิรัตน์. (2553). ทัศนคติของสตรีในอำเภอเมืองเชียงใหม่ที่มีต่อโฆษณาแฝงในรายการละครโทรทัศน์[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่], มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (2563, 29 มิถุนายน). ทำไมซีรีส์เกาหลีจึงครองใจคน. https://www.the101.world/why-korean-dramas-are-popular/

วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2552). ตำราหลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 5). มาร์เก็ตติ้งมูฟ.

วุฒิ สุขเจริญ. (2555). พฤติกรรมผู้บริโภค: Consumer behavior. จี.พี. ไซเบอร์พรินท์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). กลยุทธ์การตลาด การบริหารการตลาด และกรณีศึกษา. พัฒนาศึกษา

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตวรรณา, และ รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2552). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL (พิมพ์ครั้งที่ 3). เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

อริญชย์ ณ ระนอง, นภาพร ขันธนภา, และ มนตรี พิริยะกุล. (2559). อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อการโฆษณาสินค้าและทัศนคติที่มีต่อตราสินค้าในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลของการรับรองผลิตภัณฑ์โดยบุคคลที่มีชื่อเสียงสู่ความตั้งใจซื้อ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปะ, 36(3), 145-168. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/view/71742

อัญชลีพร ธนันชัยทวีโชติ. (2560). รูปแบบการสร้างแบรนด์บุคคลด้วยชื่อเสียงในธุรกิจภาพยนตร์ไทย [ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]. Repository RMUTP. http://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/2984

อุษา วันต่วน. (2553). การรับรู้โฆษณาแฝงในละครซิทคอมของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. MIS MS SU. http://www.mis.ms.su.ac.th/MISMS02/PDF01//2553/BE/6.pdf

Byrne, B. M. (2010). Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and programming (2nd ed.). Taylor and Francis Group.

Cobanoglu, C., Werde, B., & Moreo, P. J. (2001). A comparison of mail, fax and web-based survey methods. International Journal of Market Research, 43(4), 1-15. https://doi.org/10.1177/1470785301043004

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient Alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16, 297-334. https://doi.org/10.1007/BF02310555

Dens, N., De Pelsmacker, P., Wouters, M., & Purnawirawan, N. (2012). Do you like what you recognize? The effects of brand placement prominence and movie plot connection on brand attitude as mediated by recognition. Journal of Advertising, 41(3), 35-53. https://doi.org/10.2753/JOA0091-3367410303

Fossen, B. L., & Schweidel, D. A. (2019). Measuring the impact of product placement with brand-related social media conversations and website traffic. Marketing Science, 38(3), 481-499. https://doi.org/10.1287/mksc.2018.1147

Garrison, K. C. (1972). Educational psychology: An integration of psychology and educational practices. Charles E. Merill.

Hair, J. F., Black, W. C., & Babin, B. J. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Pearson Prentice Hall.

Hinkle, D. E., Wiersma, W., & Jurs, S. G. (1998). Applied statistics for behavioural sciences (4th ed.). Rand McNally College.

Itoo, M. H., & Nagar, K. (2018). An experimental investigation of effects of media type and plot connection on brand placement effectiveness. International Journal of Applied Marketing and Management, 3(1), 20-32.

Kembuan, K. F., Lapian, S. L. H. V. J., & Wangke, S. J. C. (2021). The influencer of Samsung product placement In Korean Drama “Crash Landing on You” on brand memory. Executive MBA (EMBA) Journal, 9(4), 95-104. https://bitly.ws/U7Tc

Kenton, W. (2022, December 31). What is brand recognition? Why it’s important and benefits. Investopedia. https://www.investopedia.com/terms/b/brand-recognition.asp

Lehu, J-M., & Bressoud, E. (2008). Effectiveness of brand placement: New insights about viewers. Journal of Business Research, 61(10), 1083-1090. https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0148296307002895

Likert, R. (1961). New patterns of management. McGraw-Hill.

Lin, W. (2019). Study of visual packing design, perceived quality, and perceived value of organic foods on brand preference of young Chinese consumers [Graduate Independent study, Bangkok University]. DSpace at Bangkok University. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3866

Naderer, B., Matthes, J., & Bintinger. (2020). It is just a spoof: Spoof placements and their impact on conceptual persuasion knowledge, brand memory, and brand evaluation. International Journal of Advertising, 40(1), 106-123. https://doi.org/10.1080/02650487.2020.1793632

Parengkuan, V. J. J., Tulung, J. E., & Arie, F. V. (2020). Influence of product placement in movies and television programs towards brand recall of millennials. Jurnal Riset Ekonomi, Manajemen, Bisnis dan Akuntansi, 8(1), 2085-2094. https://doi.org/10.35794/emba.v8i1.28060

Pasharibu, Y., Purwati, Y., & Jie, F. (2013). The influence of attitude and brand recognition toward purchase intention of online advertising on social networking sites. In Proceedings of the18th Asia Pacific DSI Conference (pp.1-14). International DSI and ASIA Pacific DSI 2013 Bali Conference.

Russell, C. (1998). Toward a framework of product placement: Theoretical proposition. Advances in Consumer Research North American Advances, 25. https://www.semanticscholar.org/paper/Toward-a-Framework-of-Product-Placement%3A-Russell/6ee547bb1dc6da9a75caf585e1df82e2b9b23e8d

Russel, C. A. (2002). Investigating the effectiveness of product placement in television shows: The role of modality and plot connection congruence on brand memory and attitude. Journal of Consumer Research, 29(3), 306-318. https://www.jstor.org/stable/10.1086/344432

Ryu, K. (2017). Effect of a brand story structure on perceived brand image: The mediating role of immersion in a brand story of a luxury hotel. Open Access Theses, 1317. https://docs.lib.purdue.edu/open_access_theses/1317

S. Nam. (2020, April 6). “A Business Proposal” ends on ratings rise as no. 1 monday-tuesday drama. Soompi. https://www.soompi.com/article/1520789wpp/a-business-proposal-ends-on-ratings-rise-as-no-1-monday-tuesday-drama

Singh R. P., & Banerjee, N. (2018). A study on exploring the factors influencing celebrity endorsement credibility. Global Business Review, 19(2), 494-509. https://doi.org/10.1177/0972150917713537

Yang, L., & Yin, C.-Y. (2018). Influence of product plot connection of product placement on purchase intention. Advances in Social Science, Education and Humanities Research (ASSEHR), 184, 107-111.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-30