ประสิทธิภาพทางกำไรและการวางแผนภาษีที่ส่งผลต่อราคาหลักทรัพย์ ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ดัชนี 100

ผู้แต่ง

  • สุมาลี นามโชติ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี
  • จักรกฤษณ์ มะโหฬาร คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี
  • สุพรรณรัตน์ มาศรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ประสิทธิภาพทางกำไร, การวางแผนภาษี, ราคาหลักทรัพย์, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพทางกำไรและการวางแผนภาษีที่ส่งผลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดัชนี 100 กลุ่มตัวอย่างคือ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดัชนี 100 จำนวน 80 บริษัท โดยไม่รวมกลุ่มอุตสาหกรรมกลุ่มธุรกิจการเงิน เนื่องจากมีลักษณะการดำเนินธุรกิจ มีข้อบังคับมาตรฐานรายงานทางการเงิน และหลักเกณฑ์ที่แตกต่างกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ ทำการจัดเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ โดยจัดเก็บจากรายงานทางการเงิน แบบ 56-1 และข้อมูลจาก SETSMART ย้อนหลัง 5 ปี ตั้งแต่ปี 2561-2565 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุดและต่ำสุด สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ ผลการวิจัยพบว่า อัตราผลตอบแทนต่อยอดขาย (ROS) อัตรากำไรสุทธิต่อหุ้น (EPS) อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่แท้จริง (ETR) อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อสินทรัพย์รวม (ETA) อัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (D_E) บริษัทตรวจสอบบัญชี (AUD) และขนาดของกิจการ (SIZE) มีอิทธิพลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยดัชนี 100 ผลลัพธ์ที่ได้นี้มีประโยชน์ต่อนักลงทุนเพื่อนำไปใช้ในการพิจารณาก่อนลงทุนอีกทั้งผู้บริหารธุรกิจยังสามารถนำไปใช้ไปในการวางแผนธุรกิจเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อการดำเนินงานได้ต่อไปในอนาคตให้เกิดประโยชน์สูงสุด

References

กังสดาล วงษ์สกุล และ กุสุมา ดำพิทักษ์. (2563). ปัจจัยทางเศรษฐกิจและอัตราส่วนทางการเงินที่มีผลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 7(1), 241-254. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/251682

เจนจิรา จันทร์ทอง และ พรรณทิพย์ อย่างกลั่น. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงิน นโยบายการจ่ายเงินปันผลกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมบริการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(3), 371-383. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/SSRUJPD/article/view/260318

ชนนี ยิ่งนิรันดร์ และ ทรงวิทย์ เจริญกิจธนลาภ. (2562). ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการหมวดขนส่งและโลจิสติกส์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 7(2), 84-93. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/233222

ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม. (2558). คำสอนวิชากฎหมายภาษีอากร (พิมพ์ครั้งที่ 10). สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.

ชุดาพร สอนภักดี, ญาณิศา ทองโปร่ง, ธันยพร วิศรียา, วิมลณัฐ พวงประทุม, และ ศุภิสรา ศิรินาวี. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ หมวดการแพทย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(2), 45-57. https://so08.tci-thaijo.org/index.php/MSJournal/article/view/2857

ดาวเรือง โสภะ และ ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของผู้ถือหุ้นและการวางแผนภาษีที่ส่งผลต่อนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(3), 139-154. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/neuarj/article/view/250899

ประเสริฐ พิมคีรี, จิรติกาญจน์ ติลกกุล, นภารัตน์ ผาลม, ภาณุมาส ปิยทัศนกุล, ญาณี เนียมธรรม, อัจฉรา ฤทธิ์พูล, วรารัตน์ พรหมสาขา ณ สกลนคร, กฤตพงศ์ วัชระนุกุล, พิชชานันท์ ภาโสภะ, และ กฤษฏิ์ศดิศ ธรเสนา. (2562). ปัจจัยของการกำกับดูแลกิจการที่มีอิทธิพลต่อมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET100). วารสารศิลปะศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 6(2), 27-40. https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/jfam/article/view/3330

รสนา โชติสุวรรณ และ สุภา ทองคง. (2562). ความส้มพันธ์ระหว่างการวางแผนภาษีกับราคาหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, 14(1), 23-36. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241348

วิภา ระดวง. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่มีการกำกับดูแลที่ดีตามเกณฑ์หุ้นยั่งยืน กรณีศึกษาบริษัทหลักทรัพย์จดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5619

วิไลลักษณ์ แสงสุวรรณ. (2564). ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินต่อราคาหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET 100 [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]. ศูนย์เรียนรู้และหอสมุด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Wilailuck.San.pdf

ศฐา วรุณกูล และ กุลชญา แว่นแก้ว. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนภาษีกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 13(3), 91-99. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sskrujournal/article/view/232557

สมเดช โรจน์ศรีเสถียร. (2550). คู่มือสอบ Tax auditor (พิมพ์ครั้งที่ 11). ธรรมนิติเพรส.

สมศักดิ์ ประถมศรีเมฆ และ กรวิภา เทียนภาสกร. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่แท้จริง กรณีศึกษาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยบูรพา]. BUUIR. https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1319

สัตยา ตันจันทร์พงศ์. (2557). อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อการวางแผนภาษีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 10(28), 5-18. http://www.jap.tbs.tu.ac.th/files/Article/Jap28/Full/Jap28Sattaya.pdf

สัตยา ตันจันทร์พงศ์ และ พัทธ์ยศ เดชศิริ. (2561). ผลกระทบเชิงสาเหตุระหว่างการวางแผนภาษีกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 38(3), 1-13. https://utcc2.utcc.ac.th/utccjournal/383/1_13.pdf

Aldhamari, R., Mohamad Nor, M. N., Al Farooque, O., & Al-Sabri, H. M. (2022). Risk committee and stock price crash risk in the Malaysian financial sector: The moderating role of institutional ownership. Journal of Accounting in Emerging Economics, 13(3), 509-540. https://doi.org/10.1108/JAEE-09-2021-0298

Al-Zoubi, H., & Maghyereh, A. (2007). The relative risk performance of Islamic finance: A new guide to less risky investments. International Journal of Theoretical and Applied Finance, 10(2), 235-249. https://doi.org/10.1142/S0219024907004184

Armstrong, C. S., Blouin, J. L., Jagolinzer, A. D., & Larcker, D. F. (2015). Corporate governance, incentives, and tax avoidance. Journal of Accounting and Economics, 60(1), 1–17. https://doi.org/10.1016/j.jacceco.2015.02.003

Atiase, R. K. (1985). Predisclosure information, firm capitalization, and security price behavior around earnings announcements. Journal of Accounting Research, 23(1), 21-36. https://doi.org/10.2307/2490905

Bayram, K., & Othman, A. H. A. (2019). Islamic versus conventional stock market indices performance: Empirical evidence from turkey. IQTISHADIA Journal Kajian Ekonomi dan Bisnis Islam, 12(1), 74-86. http://dx.doi.org/10.21043/iqtishadia.v12i1.4631

Best, J. W. (1977). Research in education (3rd ed.). Prentice-Hall.

Bowerman, B. L., & O’Connell, R. T. (1990). Linear statistical models: An applied approach (2nd ed.). PWS-Kent.

Chen, S., & Chen, X., Cheng, Q., & Shelvin, T. (2010). Are family firms more tax aggressive than non-family firms. Journal of Financial Economics, 95(1), 41-61. https://doi.org/10.1016/j.jfineco.2009.02.003

Chen, Y., Ge, R., Louis, H., & Zolotoy, L. (2019). Stock liquidity and corporate tax avoidance. Review of Accounting Studies, 24(1), 309-340. https://doi.org/10.1007/s11142-018-9479-6

Chrisman, J. J., Sharma, P., & Taggar, S. (2007). Family influences on firms: An introduction. Journal of Business Research, 60(10), 1005-1011. https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2007.02.016

Delgado, F. J., Fernandez-Rodriguez, E., & Martinez-Arias, A. (2012). Size and other determinants of corporate effective tax rates in US listed companies. International Research Journal of Finance and Economics, 98, 160-165. http://www.internationalresearchjournaloffinanceandeconomics.com/ISSUES/IRJFE_98_15.pdf

Dorestani, A., & Rezaee, Z. (2011). Key performance indicators and analysts’ earnings forecast accuracy: An application of content analysis. Asian Academy of Management Journal of Accounting and Finance, 7(2), 79-102. https://api.semanticscholar.org/CorpusID:55264336

Fama, F. E., & French, K. R. (1993). Common risk factors in the return on stocks and bonds. Journal of Financial Economics, 33(1), 3-56. https://doi.org/10.1016/0304-405X(93)90023-5

Freeman, C. (1987). The national system of Innovation in historical perspective. Cambridge Journal of Economics, 19(1), 5-24. https://www.jstor.org/stable/23599563

Hinkle, D. E. (1998). Applied statistics for the behavioral sciences. Houghton Mifflin.

Hoffman, W. H. (1961). The theory of tax planning. The Accounting Review, 36(2), 274–281. https://www.jstor.org/stable/243232

Jensen, M. C., & Mecking, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior agency costs and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360. https://doi.org/10.1016/0304-405X(76)90026-X

Kim, K. A., & Limpaphayom, P. (1998). Taxes and firm size in pacific-basin emerging economies. Journal of International Accounting, Auditing and Taxation, 7(1), 47-68. https://doi.org/10.1016/S1061-9518(98)90005-2

Mitton, T. (2002). A cross-firm analysis of the impact of corporate governance on the East Asian financial crisis. Journal of Financial Economics, 64(2), 215-241. https://doi.org/10.1016/S0304-405X(02)00076-4

Mohamad, N. E. A. B., & Saad, N. B. M. (2010). Working capital management and firms’ profitability: Dynamic panel data analysis of manufactured firms. International Journal of Business and Management, 5(1), 140-147. https://doi.org/10.5539/ijbm.v5n11p140

Mulyadi, M. S., Anwar, Y., & Krisma, E. B. A. D. (2015). Examining corporate governance and corporate tax management. International Journal of Finance & Banking Studies, 3(3), 47-52. https://doi.org/10.20525/ijfbs.v3i3.188

Myers, R. H. (1990). Classical and modern regression application (2nd ed.). Duxbury Press.

Noor, R. M., Fadzillah, N. S. M., & Mastuki, N. (2010). Corporate tax planning: A study on corporate effective tax rates of Malaysian Listed Companies. International Journal of Trade Economics and Finance, 1(2), 189-193. http://dx.doi.org/10.7763/ijtef.2010.v1.34

Parker, L. D. (2012). Qualitative management accounting research: Assessing deliverables and relevance. Critical Perspectives on Accounting, 23(1), 54-70. https://doi.org/10.1016/j.cpa.2011.06.002

Riani, M., Muda, I., & Rini, E. S. (2020). The analysis of the influence of financial performance on stock prices with earning growth as a moderating variable in infrastructure, utility and transportation sector companies listed on the Indonesia Stock Exchange. International Journal of Innovation Science and Research Technology, 5(8), 897-904. https://www.ijisrt.com/assets/upload/files/IJISRT20AUG371.pdf

Sincharoonsak, T. (2018). The Impact of the disclosure in the annual report on the decisions of investor of listed companies in the Stock Exchange of Thailand. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 7(1), 141-148. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/PSAKUIJIR/article/view/217899

Spence, M. (1973). Job market signaling. Quarterly Journal of Economics, 87(3), 355-374. https://doi.org/10.2307/1882010

Tanko, U. M. (2023). Financial attributes and corporate tax planning of listed manufacturing firms in Nigeria: Moderating role of real earnings management. Journal of Financial Reporting and Accounting. Advance online publication. https://doi.org/10.1108/JFRA-05-2022-0198

Tiwari, A. K., Trabelsi, N., Alqahtani, F., & Raheem, I. D. (2020). Systemic risk spillovers between crude oil and stock index returns of G7 economies: Conditional value-at-risk and marginal expected shortfall approaches. Energy Economics, 86, Article 104646. https://doi.org/10.1016/j.eneco.2019.104646

Wahab, N. S. A., & Holland, K. M. (2012). Tax planning, corporate government and equity value. The British Accounting Review, 44(2), 111-124. https://doi.org/10.1016/j.bar.2012.03.005

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-25