อิทธิพลของแรงจูงใจต่อการเลือกรับชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3” ของวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
แรงจูงใจ, การเลือกรับชม ซีรีส์เกาหลี, ซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3”บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่อง อิทธิพลของแรงจูงใจต่อการเลือกรับชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3” ของวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจที่มีต่อการเลือกรับชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3” ของวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร ในการศึกษานี้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแจกแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 159 คน ที่เป็นกลุ่มวัยทำงานและชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3” กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 20-25 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 บาทขึ้นไป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย จากการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของแต่ละตัวแปรด้านแรงจูงใจแสดงให้เห็นว่า ความบันเทิงเป็นแรงจูงใจสำคัญที่ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างรับชมซีรีส์ ในระดับมาก และตัวแปรการเลือกรับชมแสดงให้เห็นว่า การเลือกเปิดรับส่งผลต่อการรับชมในระดับมาก นอกจากนั้น ผลการศึกษายังพบว่า แรงจูงใจมีอิทธิพลต่อการเลือกรับชมซีรีส์เกาหลีเรื่อง “Dr. Romantic ภาค 3” อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p < 0.01, R Square=0.801) ทั้งนี้ ผลวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษาซีรีส์ ตลอดจนผู้ผลิตละครไทยได้มีแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาละครไทยให้สอดคล้องกับแรงจูงใจของผู้ชมกลุ่มเป้าหมายที่รับชมละครมากยิ่งขึ้น
References
กมัยธร ริ้วพันกุล. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Netflix ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. DSpace at Srinakharinwirot University. http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/538
กานต์ระพี อารีย์ประชาภิรมย์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับซีรีส์เกาหลีเรื่อง Start-up กับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. DSpace at Bangkok University. http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/5529
เกตุวดี สมบูรณ์ทวี, ณัฏฐ์ชกุญช์ ทิพย์ภักดี, และ สุนิสา อภิพงษ์. (2557). พฤติกรรมและปัจจัยในการเลือกชมซีรีย์เกาหลีของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวิชาการวิจัยสถาบัน เพื่อการพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 1 (น. 434-440). http://www.mis.ms.su.ac.th/MISMS01/PDF01/194_20190625_t_194.pdf
เกาหลีใต้ ปั้นซีรีส์อย่างไร ให้ส่งออกได้ทั่วโลก. (2565, 13 พฤศจิกายน). ลงทุนแมน. https://www.longtunman.com/42708
คฑาวุธ ก่อสินประสิทธิ์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การโน้มน้าวใจของเฟซบุ๊กเพจหมอแล็บแพนด้ากับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้ติดตามเพจในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. Bu Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/5215
เจาะเบื้องหลังความสำเร็จ “เกาหลีฟีเวอร์” ต้นแบบซอฟต์เพาเวอร์สะกดชาวโลก. (2565, 22 ตุลาคม). ไทยรัฐ. https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2532836
ฐิตินันท์ ทองมาเอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและการเปิดรับชมรายการสนามข่าว 7 สี ทางโทรทัศน์ของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. Bu Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4618
ติ่ง(ซีรีส์). (2560, 19 มกราคม). Romantic doctor, teacher Kim. Minimore. https://minimore.com/b/Cx2Me/10
ณัฐนันท์ อ่อนน้อม. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการเลือกรับชมการแข่งขันกีฬาเพาะกายของ Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. BU Research. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/5205
ณัฐวุฒิ มีสกุล. (2562). การถ่ายทอดวัฒนธรรมเกาหลีผ่านสื่อละครเกาหลี. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 18(2), 206-218. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/commartsreviewsiamu/article/view/225537
ปรารถนา พานนาค และ ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี. (2562). แรงจูงใจ พฤติกรรมการชม และความพึงพอใจต่อรายการของเกาหลีทางวีดีทัศน์ออนไลน์ Viu (Thailand). วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 23(2), 54-64. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jca/article/view/246043
ภัครดา อิ่มสุขศรี. (2564). การเปิดรับสื่อ แรงจูงใจ จิตสํานึกสาธารณะและความตั้งใจในการบริจาคโลหิตในช่วงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chula Digital Collections. https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/5217/
วรมิตา สาสุวรรณ์. (2560). การเปิดรับกับทัศนคติและพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรมเกาหลีของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Collection. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:142784
วลัญช์ลักษณ์ ถาวรศักดิ์สุธี และ กุลกัญญา ณ ป้อมเพ็ชร์. (2562). พฤติกรรมการรับชมรายการช่องทีวีดิจิตอลของผู้ชมในเขตภาคกลาง. วารสารการบริหารและการจัดการ, 9(1), 43-57. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fam/article/view/214990
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (2563, 29 มิถุนายน). ทำไมซีรีส์เกาหลีจึงครองใจคน. https://www.the101.world/why-korean-dramas-are-popular/
องอาจ สิงห์ลำพอง. (2557). กระบวนการผลิตละครโทรทัศน์. สามลดา.
Dr. Romantic 2 จบลงอย่างสวยงาม ด้วยสถิติเรตติ้งสูงสุดนับตั้งแต่เริ่มออนแอร์. (2563, 26 กุมภาพันธ์). Koseries. https://www.korseries.com/dr-romantic-2-ends-with-best-personal-rating-record/
“Dr. Romantic 3” กลับมาได้รับเรตติ้งสูงสุดอีกครั้ง ขณะที่ “Joseon Attorney” จบด้วยเรตติ้งเพิ่มขึ้นเล็กน้อย!. (2566, 20 พฤษภาคม). popcornfor2.com. https://www.popcornfor2.com/content/-news-122914
Dr. Romantic 3 เรตติ้งก้าวกระโดด ลาจอด้วยสถิติสูงสูดนับตั้งแต่ออนแอร์เปิดทางเรื่องราวสู่ซีซั่น 4?. (2566, 18 มิถุนายน). Koseries. https://www.korseries.com/dr-romantic-3-achieved-highest-viewership-ratings-at-final-episode-and-hint-for-possibility-of-ss-4/
Smiling. (2566, 31 พฤษภาคม). รีวิว Dr. Romantic 3 ซีรีส์คุณหมอที่ไม่ควรพลาด. trueID. https://entertainment.trueid.net/detail/vAwV66kpapJ0
Atkin, C. K. (1973). New model for mass communication research. Free Press.
Beach, D. S. (1965). Personal: Management of people at work. The Macmillan.
Domjan, M. (1996). The principles of learning and behavior. Thaomson/Wadswprh.
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A.-G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods, 39(2), 175-191. https://doi.org/10.3758/bf03193146
Hair, J. F., Hult, G. T. M., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2017). A Primer on Partial Least Squares Structural Equation Modeling (PLS-SEM) (2nd ed.). Sage.
Hair, J. F., Hult, G. T. M., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2022). A Primer on Partial Least Squares Structural Equation Modeling (PLS-SEM) (3rd ed.). Sage.
Klapper, T. (1960). The effects of mass communication. The Free Press.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2002). Principles of marketing (9th ed.). Prentice Hall.
Lee, B., Ham, S., & Kim, D. (2015). The effects of likability of Korean celebrities, dramas, and music on preferences for Korean restaurants: A mediating effect of a country image of Korea. International Journal of Hospitality Management, 46, 200–212. https://doi.org/10.1016/j.ijhm.2014.05.012
Maslow, A. H. (1954). Motivation and personality. Harper and Row.
McCombs, M. E., & Becker, L. B. (1979). Using mass communication theory. Prentice-Hall.
Samuels, F. (1984). Human needs and behavior. Schnenkman.
Schramm, W., & Roberts, D. F. (1973). The process and effects of mass communication. University Illinois.
Solomon, M. R. (2012). Consumer behavior: Buying, having, and being. Person Education.
Walters, C. G. (1978). Consumer behavior (3rd ed.). Richard D. Irwin.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น