พลวัตรของเครือข่ายธรรมาภิบาลการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในท้องถิ่นจังหวัดระยอง: นัยยะเชิงนโยบาย
คำสำคัญ:
เครือข่าย, ธรรมาภิบาล, การศึกษาเด็กปฐมวัย, ท้องถิ่น, จังหวัดระยองบทคัดย่อ
บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการศึกษาเครือข่ายธรรมาภิบาลการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการศึกษา พบว่า พัฒนาการของการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยองมีการเปลี่ยนแปลง 3 ช่วงที่สำคัญ ได้แก่ ช่วงแรก คือ การจัดการศึกษาปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก่อนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ช่วงที่สอง คือ การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายหลังการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และช่วงที่ 3 คือ การพัฒนาเครือข่ายธรรมาภิบาลการศึกษาเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับจังหวัดหลัง พ.ศ. 2560 นำโดยสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยองและเครือข่ายภาคเอกชนในพื้นที่ โดยมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และโรงเรียนที่มีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำหน้าที่ในการนำนโยบายและมาตรฐานการพัฒนาเด็กปฐมวัยไปปฏิบัติ
Downloads
References
ไกรยส ภัทราวาท. (2558). รีเซ็ตการศึกษาท้องถิ่นเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2559). มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559. กรุงเทพมหานคร: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2562, มีนาคม 1). ที่ มท 0816.4/ว 806. มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563, ธันวาคม 16). ที่ มท 0816.4/ว 3880. การนิเทศติดตามการจัดการศีกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง. (2562). แบบสรุปการบันทึกการประเมินตามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กแห่งชาติ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดระยอง. ระยอง: สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง. (2563). เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานสร้างความเข้มแข็ง การศึกษาปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับอำเภอ. สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง. (2564). แบบสรุปประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษาระดับปฐมวัยในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. ระยอง: สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
กระทรวงมหาดไทย. (2554, มกราคม 21). มท 0893.4 /ว 276 . ข้อแนะนำแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการศูนย์อบรมเด็กก่อนระดับประถมศึกษาในศาสนสถาน.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561, กันยายน 18). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง.
คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. (2564, มีนาคม 15). ที่ 4/2564. ประกาศคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง.
จังหวัดระยอง. (2560, พฤษภาคม 31). ที่ 10683/ 2560. คำสั่งจังหวัดระยอง เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน โครงการ ดาว-อีเอฟ พัฒนาเยาวชนสู่ความสำเร็จเพื่อเมืองระยองผาสุก (DOW-EF Development for Successful Youth & Rayong Happiness).
จังหวัดระยอง. (2561ก, มกราคม 19). ที่ 541/2561. คำสั่งจังหวัดระยอง เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด.
จังหวัดระยอง. (2561ข, เมษายน 9). ที่ 3820 / 2561. คำสั่งจังหวัดระยอง เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดระยอง.
นงเยาว์ อุทุมพร (2554). การจัดการศึกษาขององค์การบริหารส่วนจังหวัด. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2545). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา 119, 23ง (13 มีนาคม): 22.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฏีกา 116, 74ก (19 สิงหาคม): 1-25.
พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562. (2562). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา 136, 56ก (30 เมษายน): 102-120.
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550. (2551). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา 125, 9ก (14 มกราคม): 1-15.
วีระศักดิ์ เครือเทพ (2550). เครือข่าย: นวัตกรรมการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2552). แปรถิ่น เปลี่ยนฐาน : สร้างการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานของประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Agranoff, R., & McGuire, M. (1994). Collaborative public management. Washington D.C.: Georgetown University Press.
Aspers, P., & Corte, U. (2019). What is Qualitative in Qualitative Research. Qualitative Sociology, 42, 139-160. doi:10.1007/s11133-019-9413-7
Atkins, L. (2012). Qualitative research in education. London; Los Angeles: SAGE.
Dow Thailand Group. (2020). 2020 Sustainability report. Bangkok: Dow Thailand Group. Retrieved from https://th.dow.com/en-us/news/reports.html
Gormley, W. T., & Balla, S. J. (2004). Bureaucracy and Democracy: Accountability and Performance. Washinton D.C.: CQ Press.
Gunnulfsen, A. E. (2021). Applying the Integration Dimensions of Quantitative and Qualitative Methods in Education Policy Research: Lessons Learned From Investigating Micro Policymaking in Norwegian Schools. International Journal of Qualitative Methods, 20, 1-13. doi:10.1177/16094069211028349
Hamilton, L., & Corbett-Whitteir, C. (2013). Using case study in education research. Los Angeles, California; London: SAGE.
Krueathep, W., Riccucci, N. M., & Suwanmala, C. (2010). Why Do Agencies Work Together? The Determinants of Network Formation at the Subnational Level of Government in Thailand. Journal of Public Administration Research and Theory, 20, 157-185.
Lubell, M. (2015). Collaborative partnerships in complex institutional systems. Current Openion in Environmental Sustainability, 12, 41-47. doi:10.1016/j.cosust.2014.08.011
McGinnis, M. D. (2011). An Introduction to IAD and the Language of the Ostrom workshop: A Simple Guide to a Complex Framework. The Policy Studies Journal, 39(1), 169-183.
North, D. C. (1994). Economic Performance Through Time. The American Economic Review, 84(3), 359-368.
O'Toole, L. (1997). The Implication for Democracy in Networked Bureaucratic World. Journal of Public Administration Research and Theory, 7(3), 443-459.
Parra, J. D., Said-Hung, E., & Montoya-Vargas, J. (2021). (Re)introducing critical realism as a paradigm to inform qualitative content analysis in causal educational research. International Journal of Qualitative Studies in Education, 34(2), 168-182. doi:10.1080/09518398.2020.1735555
Provan, K. G., & Kenis, P. (2007). Modes of Network Governance: Structure, Management, and Effectiveness. Journal of Public Administration Research and Theory, 18, 229-252.
Provan, K. G., & Milward, H. B. (2001). Do Networks Really Work? A Framework for Evaluating Public-Sector Organizational Networks. Public Administration Review, 61(4), 414-423.
Stokman, F. N. (2014). Policy Networks: History. In R. Alhaij, & J. Rokne (Eds.), Encyclopedia of Social Network Analysis and Mining (pp. 1291-1310). Springer.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Phrueksaphong Visuthduangdusdee, Ploy Suebvises
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.