นโยบายรัฐ ทุน กับการเปลี่ยนแปลงระบบอาหารท้องถิ่น: กรณีศึกษาผู้ผลิตรายย่อยผู้ปลูกต้นหอม (หอมแบ่ง) ในพื้นที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม

ผู้แต่ง

  • มุกดา สุวรรณศรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • บัวพันธ์ พรหมพักพิง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

นโยบายรัฐ, ทุน, ระบบอาหารท้องถิ่น, ต้นหอม (หอมแบ่ง), ผู้ผลิตรายย่อย

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอการวิเคราะห์บทบาทของนโยบายรัฐและทุน กับการเปลี่ยนแปลงระบบอาหารท้องถิ่น ทำการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจท้องถิ่น จากเอกสารทุติยภูมิ ร่วมกับข้อมูลเชิงประจักษ์จากปรากฏการณ์ภาคสนาม ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมกลุ่มย่อย และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผลการศึกษามีข้อค้นพบที่สำคัญ ดังนี้ นโยบายรัฐที่เชื่อมโยงอยู่กับการจัดระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ มีบทบาทต่อการปรับเปลี่ยนคุณประโยชน์ของระบบนิเวศ และกิจกรรมของระบบอาหารท้องถิ่น ด้วยการเปิดโอกาสให้กลุ่มทุนหรือธุรกิจการเกษตร เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบ ในฐานะผู้จัดหาปัจจัยการผลิตสมัยใหม่ และยังมีบทบาทต่อการเติบโตของเมือง รวมถึงการขยายตัวของตลาดหลายระดับที่เข้ามาทำหน้าที่ผู้กระจายอาหาร ในกรณีพื้นที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม การเปลี่ยนแปลงภายในระบบอาหารท้องถิ่นกว่า 60 ปีที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นถึงการผนวกรวมพื้นที่ชนบทเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบอาหารสมัยใหม่ การผลักดันให้ผู้ผลิตรายย่อยก้าวเข้าสู่ห่วงโซ่ของอาหารที่มีอุปทานยาว และสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์ของระบบที่พบว่า ได้เอื้ออำนวยให้ผู้ผลิตรายย่อยมีรายได้และมีทางเลือกที่หลากหลายมากขึ้น แต่ขณะเดียวกันก็ยังคงต้องเผชิญกับเงื่อนไขและข้อจำกัด ซึ่งมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเมื่อเทียบกับในอดีต ด้วยเหตุนี้การแสวงหาแนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตรายย่อยภายในระบบอาหารท้องถิ่นที่กำลังเผชิญกับความเปราะบางหลายด้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยการบูรณาการแบบร่วมมือ ทั้งในเชิงแนวคิดและการปฏิบัติการจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกมิติ

References

กรมพัฒนาที่ดิน. (2563). ระบบนำเสนอแผนที่ชุดดิน(Soil Series) มาตราส่วน 1:25,000. ระบบการบริหาร

จัดการการตัดสินใจเชิงพื้นที่ (Executive Information System-EIS ด้านการพัฒนาที่ดิน).

http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2562). ต้นหอม หอมแบ่ง ปี 2559-2561. ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านเกษตร

Online. https://production.doae.go.th/site/login

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2559). การจัดกลุ่มสินค้าเกษตร: พืช. มาตรฐานสินค้าเกษตร. สำนักงานมาตรฐาน

สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. https://www.acfs.go.th/standard/download/CLASSIFICATION_AGRICULTURAL_COMMODITI

ES-CROP.pdf

กิตติศักดิ์ ทองมีทิพย์. (2564). พััฒนาการเกษตรกรรมของประเทศไทย: ในมิติด้้านการพััฒนาชุมชนและคุุณภาพ

ชีวิต. วารสารพัฒนศาสตร์, 4(1), 132-162

จามะรี เชียงทอง. (2560). สังคมชนบทในโลกสมัยใหม่. เชียงใหม่: หจก.วนิดาการพิมพ์.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2550). แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน ข้อเสนอทางทฤษฎีในบริบทต่างสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 3).

กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด.

ชาย โพธิสิตา. (2556). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:

อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

นิลวดี พรหมพักพิง และคณะ. (2563). ผู้หญิง ชาติพันธุ์ ผู้ค้ารายย่อยในตลาดจังหวัดนครพนม. กรุงเทพฯ:

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

บัวพันธ์ พรหมพักพิง และมุกดา วงค์อ่อน. (2563). การเกษตรและอาหาร: ประเด็นปัญหาเก่าในวาระใหม่

ของการวิจัยและการพัฒนา. MFU Connexion: Journal of Humanities and Social Sciences;

(1), 1-18.

พงษ์ศักดิ์ อ้นมอย และ พีรญา อึ้งอุดรภักดี. (2559). การประเมินผลกระทบทางสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกัน

ตนเองจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรผู้ปลูกหอมแดงตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. วารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 4(3), 417 – 427.

ศยามล เจริญรัตน์. (2557). ความมั่นคงทางอาหาร ป่าชุมชน กับการผลักดันเรื่องความเป็นธรรมเพื่อ

ชุมชนท้องถิ่น. (อิเล็กทรอนิกส์) เอกสารการประชุมวิชาการประจำปี 57. สถาบันวิจัยสังคม

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหารระหว่างไทย-สหรัฐ. (ม.ป.ป.) คู่มือประจำจังหวัดนครพนม ประเทศไทย

เล่ม 3 สภาพทางเศรษฐกิจ. องค์การวิจัยโครงการขั้นสูง(Project AGILE) และควบคุมหน่วยวิจัยแห่งกองทัพบกสหรัฐที่ DURHAM.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2563. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/587334

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ความยากจนและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย ปี 2563. กองพัฒนาข้อมูลและตัวชี้วัดสังคม (กขส). https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11972&filename=Social_Poverty

สุวิดา ธรรมมณีวงศ์. (2553). ตลาดสด: การสร้างเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม. วารสาร

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30(2), 132-148.

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง. (2559). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 2561-2564. งาน

นโยบายและแผน สำนักงานปลัด. องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม.

อานันท์ กาญจนพันธ์. (2554). ชนบทอีสานปรับโครงสร้าง ชาวบ้านปรับอะไร?. รายงานการสังเคราะห์งานวิจัย

เศรษฐกิจชนบทภาคอีสาน เสนอต่อสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เฮเลน่า นอร์เบอร์ก-ฮอดจ์, ทอดด์ เมอรีฟิลด์ และสตีเวน กอร์ลิค. (2551). นำอาหารกลับบ้าน.

(ไพโรจน์ ภูมิปะดิษฐ์, ผู้แปล). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สงวนเงินมีมา.

Banwell, C., Kellya, M., Dixona, J., Seubsmanb, S-A. & Sleigh, A. (2016). Trust: the missing

dimension in food retail transition in Thailand. Anthropological Forum, 26(2), 138-154.

Committee on World Food Security. (2015). The future food system: the world on one plate?.

http://www.fao.org/cfs/home/blog/blog-articles/article/en/c/448182/

Ericksen, P. J. (2008). Conceptualizing food systems for global environmental change research,

Global Environmental Change, 18(1), 234-245.

Enthoven, L., & Broeck, G. (2021). Local food systems: Reviewing two decades of research.

Agricultural Systems, 193:103226.

Falvey, L. (2000). Thai Agriculture: Golden Cradle of Millennia. Kasetsart University Press.

Thailand.

FAO. (2018). Sustainable food systems: concept and framework. Brief. Rome

Feenstra, G.W. (1997). Local Food Systems and Sustainable Communities. American Journal of

Alternative Agriculture, 12(1), 28-36.

Freidmann, H., & McMichael, P. (1989). Agriculture and the State System: The Rise and

Decline of National Agricultures, 1870 to the Present. Sociologica Ruralis, 29(2),

-117.

Gartaula, H., Patel, K., Johnson, D., Devkota, R., Khadka, K., & Chaudhary, P. (2017). From food

security to food wellbeing: examining food security through the lens of food wellbeing in

Nepal’s rapidly changing agrarian landscape. Agriculture and human values, 34(3), 573-

Ijeomah, C., Amuda, O., Babatunde, B., & Abutu, P. (2020). Evaluation of Genetic Diversity of

Spring Onions (Allium fistulosum) Based on DNA Markers. Journal of Experimental

Agriculture International, 42(3), 23-33.

Kayat, F., Mohammed, A., & Ibrahim, M.A. (2021). Spring Onion (Allium fistulosum L.) Breeding

Strategies. Advances in Plant Breeding Strategies: Vegetable Crops, 135–182.

Louise, O.F. (2009). Challenges for food system adaptation today and tomorrow.

Environmental Science & Policy, 12, 378-385.

Lowder, S. K., Skoet, J. & Raney, T. (2016). The Number, Size, and Distribution of Farms,

Smallholder Farms, and Family Farms Worldwide, World Development, 87, 16–29.

Marianne, H., Fleur, M., Ine, C., Koen, M., Lies, D. & GuidoVan, H. (2017). A new agri-food

systems sustainability approach to identify shared transformation pathways

towards sustainability. Ecological Economics, 131, 52-63.

McMichael, P. (2013). Food Regimes and Agrarian Questions (Agrarian Change And

Peasant Studies). Fernwood Books Ltd, Canada.

Norgaard, R. B. (1984). Coevolutionary Agricultural Development. Economic Development and

Cultural Change, 32(3), 525–546.

Readon, T et al. (2019). Rapid transformation of food systems in developing regions: Highlighting

the role of agricultural research & innovations. Agriculture systems. 172, 47-59.

Rosset, P., Rice, R. &Watts, M. (1999). Thailand and the world tomato: globalization, new

agricultural countries (NACs), and the agrarian question. International Journal of the Sociology of Agriculture and Food, 8, 71–94.

Sobal, J., Khan, L. & Bisogni, C. (1998). A conceptual model of the food and nutrition

System, Social Science & Medicine, 47(7), 853–863.

Suwannasri, M. & Promphakping, B. (2022). Sustainability of Smallholders in the Local Food

System: A Study of Chicken Layer Farms in Nakhon Phanom Province, Northeast Thailand. Sustainability, 14(10), 5997.

Tendall, D.M., Joerin, J., Kopainsky, B., Edwards, P., Shreck, A., Le, Q.B., Kruetli, P., Grant,

M. & Six, J. (2015). Food system resilience: Defining the concept. Global Food

Security, 6, 17-23.

Teravest, D. (2019). Diversifying conservation agriculture and conventional tillage cropping

systems to improve the wellbeing of smallholder farmers in Malawi. Agricultural

Systems, 171, 23-35.

Timmer, C. Peter. (2009). A world without agriculture: the structural transformation in

historical perspective. the American Enterprise Institute for Public Policy

Research, Washington, D.C.

The Economist Intelligence Unit. (2017). Global food security index 2017:4 Measuring

Food security and the impact of resource risk.

https://www.eiu.com/public/topical_report.aspx?campaignid=GFSI2017

UNEP. (2016). Food systems and natural resource. A report of working group on food systems of

the international resource panels. https://www.resourcepanel.org/reports/food-systems-

and-natural-resources

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27