การเมืองของระบอบรัฐสวัสดิการอนุรักษ์นิยมและการเคลื่อนไหวของเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม
คำสำคัญ:
รัฐสวัสดิการ, การเคลื่อนไหวทางการเมือง, สวัสดิการสังคม, การคุ้มครองทางสังคม , ครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรมบทคัดย่อ
การศึกษาเน้นที่สวัสดิการและรัฐสวัสดิการในขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองของเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมและเป็นธรรมในประเทศไทย วัตถุประสงค์หลักของบทความนี้ ผู้เขียนอธิบายระบอบรัฐสวัสดิการและอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อวิเคราะห์ฐานคิดของนโยบายรัฐสวัสดิการของเครือข่าย We Fair ที่ตั้งอยูบนหลักการของสวัสดิการถ้วนหน้าและสวัสดิการวงจรชีวิต บทความนี้นำไปสู่ปฏิบัติการเคลื่อนไหวรัฐสวัสดิการ ทั้งการผลักดันชุดข้อเสนอนโยบาย การเผยแพร่ความรู้สาธารณะ และสะท้อนมุมมองของนักกิจกรรม สิ่งที่ควรให้ความสำคัญต่อไปคือการศึกษารัฐสวัสดิการที่เป็นสหวิทยาการ การปฏิบัติการต้องจัดลำดับความสำคัญของกระบวนการนโยบาย การขยายข้อเสนอนโยบายเพื่อสร้างอำนาจต่อรองกับอภิสิทธิ์ชน ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมกับประชาชน
Downloads
References
กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงสาธารณสุข. (2485). การประชาสงเคราะห์. พิมพ์แจกในฌาปนกิจศพ นายรอต บุนยริทธิ์ (พันสุกสกลราช) ณ วัดไตรมิตรวิทยาราม. พระนคร : ไทยพาณิชยการ.
กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2567). ระบอบรัฐสวัสดิการอนุรักษ์นิยม : การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของงานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม. จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.
เดชรัต สุขกำเนิด. (2564). ระบบเงินเดือนพื้นฐานถ้วนหน้า. เวทีวิชาการ การนำเสนองานวิจัยและบทความวิชาการ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า”. วันที่ 3-4 เมษายน 2564 ณ โรงแรม TK Palace.
ณภัทร์พรรณ รัตนอมรพล, ณดลกมล อำนวย, รินรดา สิงหพงศ์ และลักษมณ ชาตะนาวิน. (2565). รายงานวิจัย มโนทัศน์และบทบาทการขับเคลื่อนนโยบายรัฐสวัสดิการของนักกิจกรรมในเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม. (รายวิชาสารนิพนธ์) หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ป๋วย อึ๊งภากรณ์. (ม.ป.ป.). การสังคมสงเคราะห์ที่เกี่ยวกับการแพทย์. สืบค้นจาก http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:132306
ป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2510). เค้าโครงการอภิปรายว่าด้วยสาเหตุและปัญหาเนื่องจากความยากไร้ โรคภัย และความไม่รู้ การประชุมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ ครั้งที่ 4. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:131237
ป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2519). เป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย. ปาจารยสาร. กันยายน-ตุลาคม 2519. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:131354
สถานศึกษาสังคมสงเคราะห์. (2496). การสงเคราะห์ประชาชนในประเทศอังกฤษ. (ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้แปล) พระนคร :สถานศึกษาสังคมสงเคราะห์ สำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:147334
ยุพา วงศ์ไชย. (2547). การสร้างองค์ความรู้ทางสังคมสงเคราะห์สำหรับสังคมไทยจำเป็นต้องเริ่มคิดใหม่หรือไม่, วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 12(1), 15-25.
วันทนีย์ วาสิกะสิน. (2534). ธรรมะกับงานสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี. (2564). บทวิเคราะห์พัฒนาการรัฐสวัสดิการและการต่อสู้ : เศรษฐกิจการเมืองกลุ่มประเทศรัฐสวัสดิการ. กรุงเทพฯ: เครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม.
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี. (2566). แด่ทุกต้นกล้าความฝัน : ประวัติศาสตร์ กรณีศึกษา และเส้นทางการต่อสู้สู่รัฐสวัสดิการ. กรุงเทพฯ : มติชน.
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2496ก). ศธ 0701.30/15. “นัดประชุมกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ใน โครงการสงเคราะห์ครอบครัวและหญิงมีครรภ์ของสมาคมสังคมสงเคราะห์” (พ.ศ. 2496-).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2496ข). ศธ 0701.30/15. “นัดประชุมกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ใน รายงานสังเกตการณ์ การประชุมเรื่องสังคมสงเคราะห์ ครั้งที่ 6 ที่เมืองมัทราส ธันวาคม 2495” (พ.ศ. 2496-).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2497). สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ 6701.30/22. “ส่งข้อบังคับของสมาคมสังคมสงเคราะห์ ในหลักสูตรการศึกษาสังคมสงเคราะห์” (พ.ศ. 2496-2497).
อนันต์ พยัคฆันตร. (2518). รัฐสวัสดิการตัวอย่างในอังกฤษ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนบุ๊คสโตร์.
อเล็กซานเดอร์ เพทริง และคณะ. (2562). รัฐสวัสดิการและสังคมประชาธิปไตย (กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์ ผู้แปล) กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท สำนักงานประเทศไทย.
Aspalter, C. (2017). Ten Worlds of Welfare Capitalism: An Ideal. In C. Aspalter (Ed.), The Routledge International Handbook to Welfare State Systems (pp. 15-39). Oxon: Routledge.
Aspalter, C. (2019a). Ten-Ideal-Typical Worlds of Welfare Regimes and Their Regime Characteristics. In B. Greve (Ed.), Routledge Handbook of the Welfare State (pp. 300-313). 2nd ed. London: Routledge.
Aspalter, C. (2019a). Real-Typical and Ideal-Typical Methods in Comparative Social Policy. In B. Greve (Ed.), Routledge Handbook of the Welfare State (pp. 314-328). 2nd ed. London: Routledge.
Aspalter, C. (2023). Ten Worlds of Welfare State Capitalism: A Global Data Analysis. Springer.
Beveridge, W. (1942). Social Insurances and Allied Services. https://web.archive.org/web/20140722140251/http://www.bl.uk/onlinegallery/takingliberties/staritems/712beveridgereport.html
Beveridge, W. (1944). Full Employment in a Free Society. http://pinguet.free.fr/beveridge44.pdf
Canonge, J. & De, L. (2019). Thailand: Universal Social Pension for an Ageing Population. In 100 Years of Social Protection: The Road to Universal Social Protection Systems and Floors: Volume I: 50 Country Cases (pp. 189-195). Geneva: International Labour Office.
Clough, S. B., Moodie, T., & Moodie, C (eds.) (1969). The Welfare State: The Beveridge Report, 1942. In Economic History of Europe: Twentieth Century (pp. 337-344). MacMillan.
Dean, H. (2019). Social Policy (Short Introductions Series) (3rd ed.). Polity Press.
Devereux, S. (2016). Is Targeting Ethical?. Global Social Policy, 16(2), 166-181.
Esping-Andersen, G. (1990). The Three Worlds of Welfare Capitalism. Polity Press.
Greve, B. (2022). Rethinking Welfare and the Welfare State. Edward Elgar.
Heywood, A. (2022). Political Ideologies: An Introduction (7th ed.). Bloomsbury Academic.
Interntional Labour Office. (1984). Introduction to Social Security. https://webapps.ilo.org/public/libdoc/ilo/1984/84B09_34_engl.pdf
International Labour Office. (2010). Extending Social Security to All. A Guide through Challenges and Options. https://webapps.ilo.org/public/libdoc/ilo/2010/110B09_262_engl.pdf
International Labour Office. (2019a). Universal Social Protection for Human Dignity, Social Justice and Sustainable Development. https://www.ilo.org/sites/default/files/wcmsp5/groups/public/@ed_norm/@relconf/documents/meetingdocument/wcms_673680.pdf
International Labour Office. (2019b). Universal Social Protection: Key Concepts and International Framework. https://socialprotection.org/discover/publications/universal-social-protection-key-concepts-and-international-framework
Kreft, L. & Santos, A. C. (2023). Thailand: Extending Social Protection by Anchoring Rights in Law. In 100 Years of Social Protection: The Road to Universal Social Protection Systems and Floors (pp. 116-128). Geneva: International Labor Office.
Overbye, E. (2021). Disciplinary Perspectives on Welfare States. In D. Beland, K. J. Morgan, H. Obinger, & C. Pierson (Eds.), The Oxford Handbook of the Welfare State (pp. 222-238). (2nd ed). Oxford University Press.
Palier, B. (2010). Ordering Change: Understanding the ‘Bismarckian’ Welfare Reform Trajectory. In B. Palier (Ed.), A Long Goodbye to Bismarck?: The Politics of Welfare Reforms in Continental Europe (pp. 19-44). Amsterdam University Press.
Pierson, C. & Leimgruber, M. (2011). Intellectual Roots of the Welfare State. In D. Beland, K. J., Morgan, H. Obinger, & C. Pierson (Eds.), The Oxford Handbook of the Welfare State (pp. 39-52). Oxford University Press.
Seeleib-Kaiser, M. & Sowula, J. (2021). The Genesis of Welfare Regime Theory. In C. Aspalter (Ed.), Ideal Types in Comparative Social Policy. Routledge.
van Langenhove, T. & Tessier, L. (2019). Thailand: How Universal Health Coverage was Achieved. In 100 Years of Social Protection: The Road to Universal Social Protection Systems and Floors: Volume I: 50 Country Cases (pp. 253-258). Geneva: International Labour Office. https://www.ilo.org/sites/default/files/wcmsp5/groups/public/@ed_protect/@soc_sec/documents/publication/wcms_669790.pdf
World Bank and International Labour Organization. (2016). A Shared Mission for Universal Social Protection: Concept Note. https://www.ilo.org/sites/default/files/wcmsp5/groups/public/@dgreports/@dcomm/documents/genericdocument/wcms_378996.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์, นาตยา อยู่คง, ลักษมณ ชาตะนาวิน, รินรดา สิงหพงศ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.