หลักพุทธธรรมกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของเยาวชน

ผู้แต่ง

  • ประกาศิต ชัยรัตน์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

บทคัดย่อ

การใช้พุทธธรรมเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวที่เป็นความรักความอบอุ่น ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมสิ่งแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการเสริมสร้างการเรียนรู้ที่เกิดจากตนเองเป็นผู้กำหนด  เยาวชนส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยาหรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด อาจเนื่องจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ความเข้าใจต่อสังคมเข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า  และขาดความรู้ทางธรรมะพื้นฐาน หากเราต้องการแก้ปัญหาเรื่องยาเสพติดของเยาวชน เราจำเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เยาวชน ควรได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญาเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว สังคม และเพื่อน ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟือง 3 ตัวขับเคลื่อนกลไกให้ทำงานในเวลาเดียวกัน

References

1.โกศล วงศ์สวรรค์. (2543).ปัญหาสังคมไทย.กรุงเทพมหานคร : รวมสาส์น.
2.ฉัตร ศิริวงศ์. (2554). กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน กรณีศึกษา : บ้านโนนยางหมู่ที่ 11 ตำบลกำแมด อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
3.ณภัสสร บุญเพ็ง. (2549). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชน กรณีศึกษา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดปทุมธานี.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาวิชาการบริหารงานยุติธรรม. สังคมสงเคราะห์ศาสตร์:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
4.ณัฐวุฒิ จันดี. (2555) ปัญหาการแก้ไขการกระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดของเยาวชน ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 จังหวัดเชียงใหม่.การค้นคว้าแบบอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
5.นวลศิริ เปาโรหิตย์. (2540). จิตวิทยาชีวิตครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
6.พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์,พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สหธรรมิก.
7.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539).พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
8.ราชบัณฑิตยสถาน. (2525).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542.กรุงเทพมหานคร :ราชบัณฑิตยสถาน.
9.วิชัย ตันศิริ. ( 2551 ).วัฒนธรรมพลเมือง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายศึกษา.
10.สำนักงาน ป.ป.ส.. (2554) เอกสารเผยแพร่สำหรับผู้ปฏิบัติงานป้องกันยาเสพติดและผู้ต้องการศึกษาหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด. กรุงเทพมหานคร : ส่วนข่าวกรองยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ส.
11.สำนักงาน ป.ป.ส.. (2560). รายงานสถานการณ์ยาเสพติด25 ธันวาคม 2560. กรุงเทพมหานคร : ส่วนข่าวกรองยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ส.
12.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ( 2545 ). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร : สำนักนายกรัฐมนตรี.
13.สุพัฒน์ธีรเวชเจริญชัย. (2553).ยาและสิ่งเสพติดให้โทษ, พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
14.โสภา ชปีลมันต์. (2536). บุคลิกภาพและพัฒนาการแนวโน้มสู่พฤติกรรมปกติและการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กและเยาวชน.กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
15.อพัชชา ศิริชัย. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน.วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาประยุกต์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
16.อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2542). สร้างวินัยให้ลูกคุณ.กรุงเทพมหานคร: ชันต้าการพิมพ์.

Downloads