ลักษณะพระพุทธศาสนาเถรวาทในพระไตรปิฎก
คำสำคัญ:
ลักษณะพระพุทธศาสนาเถรวาท, พระไตรปิฎกบทคัดย่อ
พระพุทธศาสนา คือ ศาสนาที่ถือว่าธรรมะเป็นความจริงสากล ที่ใครก็ตามหากสิ้นกิเลสก็จะพลได้ด้วยตนเอง แต่ผู้ที่ได้บำเพ็ญบารมีจนตรัสรู้ และสามารถตั้งพุทธบริษัทปัจจุบันขึ้นได้ คือ พระพุทธโคตม ซึ่งเป็นองค์หนึ่งในบรรดาสัมมาสัมพุทธเจ้ามากมายที่ได้เคยตั้งพุทธบริษัทมาแล้ว และที่จะตั้งต่อไปในอนาคต ยังมี พระพุทธเจ้าอีกมากที่ตรัสรู้แต่ไม่มีบารมีพอให้ตั้งพุทธบริษัทได้ จึงให้ผลเฉพาะตัวเรียกว่า ปัจเจกพุทธเจ้า
References
2.สุตตันตปิฎก เล่มที่ 12อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต พระไตรปิฎก เล่มที่ 4
3.พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 พระไตรปิฎก เล่มที่ 19
4.พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 11 สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค พระไตรปิฎก เล่มที่ 11 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 3 ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระไตรปิฎก เล่มที่ 20
5.พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 20
6.พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 12อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาตร
7.พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ผู้แต่ง พระธรรมปิฎก สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2546 หน้า 232
8.พระพุทธเจ้าสอนอะไร แปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดย ร.ศ.ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร และคณะ โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2547 หน้า 15-17
9.คิดอย่างเป็นระบบ และ เทคนิคการแก้ปัญหา ผู้แต่ง ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ สำนักพิมพ์ อริยชน จำกัด หน้า 190-191
10.ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) 2542 พุทธจักรปีที่ 53 ฉบับ ที่ 11 (พ.ย.2542) หน้า 4-20. 10
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์