ความเชื่อเรื่องกรรมและการให้ผลของกรรม ตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
คำสำคัญ:
กรรมและผลของกรรม, พระพุทธศาสนาเถรวาทบทคัดย่อ
หลักคำสอนในเรื่องกรรมและการให้ผลของกรรม เป็นหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญมากจัดเป็นวิชาการศึกษาหาความรู้ตามคำสอนในทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นหลักธรรมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับชีวิตของมนุษย์ และคติความเป็นไปของชีวิตในภพภูมิต่างๆ และในภพชาติของมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายต้องเกิดเวียนว่ายตามเกิดเป็นไปตามเจตนากรรมที่ได้ทำไว้ ในการดำเนินชีวิตในสังคมยุคปัจจุบัน โดยที่คนในสังคมเข้าใจหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาเรื่องของกฎแห่งกรรม ซึ่งคำสอนสอนไม่ให้กระทำในสิ่งที่เบียดเบียนกัน ทั้งทางร่างกายจิตใจและชีวิตทรัพย์สินของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคมทุกระดับชั้น การบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาจะเน้นการอบรมจิตสำนึก และการประพฤติปฏิบัติของคนที่อยู่ร่วมกันในสังคมให้มีความเอื้อเฟื้อมีเมตตาต่อกัน
References
2.พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬางกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
3.สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สารานุกรมพระพุทธศาสนา, รวบรวมโดย สุเชาวน์ พลอยชุม, กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๒๙.
4.สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก, อำนาจอันยิ่งใหญ่แห่งกรรม, กรุงเทพมหานคร : หสน.วิบูลย์กิจการพิมพ์,๒๕๕๓.
5.พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๑๙, กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด, ๒๕๕๓.
6.พระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิตติวุฒโฑ ภิกขุ) กรรม-และการให้ผลของกรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สหธรรมิก, ๒๕๕๗.
7.พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ ปรมัตถโชติกะอภิธัมมัตถสังคหฎีกา กัมมจตุกกะ มรณุปปัตติจตุกกะ กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ที่ห้างหุ่นจำกัด ไทยรายวันกราฟฟิค เพลท, ๒๕๔๖.
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์