พระพุทธศาสนา: กำเนิดโลก ชีวิตหลังความตาย
คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนา, กำเนิดโลก, ชีวิตหลังความตามบทคัดย่อ
บทความนี้ให้ความสนใจที่จะศึกษาเรื่องโลกหน้า ชีวิตหลังความตาย พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา(ความไม่รู้จริงในธรรมชาติ) อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง คือความโลภ ความโกรธ ความหลง การศึกษาครั้งนี้มีขอบเขตในการศึกษาการกำเนิดโลก ชีวิตหลังความตาย เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของความเชื่อดังกล่าว เพราะเมื่อมนุษย์จากโลกนี้ตายไปแล้วมีสิ่งหนึ่งที่สามารถนำไปคือความดีและความชั่วและโลกหน้าเป็นอย่างไรมีอยู่จริงหรือไม่ทำให้มีความสนใจที่จะค้นหาคำตอบให้แก่พุทธศาสนิกชนคนไทยและผู้สนใจใคร่รู้ได้รับรู้และรับทราบจึงได้ศึกษาเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจังเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวมทั้งในทางตรงและทางอ้อมอันจะนำไปสู่การพัฒนาสังคม ให้อยู่อย่างยั่งยืนสืบไป
References
ชูชีพ อ่อนโคกสูง(2522). จิตวิทยาการศึกษา.กรุงเทพมหานครมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.หน้า 103
ประภาเพ็ญ สุวรรณ,ดร.(2526). ทัศนคติการวัดการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย.พิมพ์ครั้ง ที่ 2. กรุงเทพมหานครมหานคร : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. หน้า 14
ประภาเพ็ญ สุวรรณ(2520). ทัศนคติ : การวัดการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย.กรุงเทพมหานครมหา นคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. หน้า 3
พระพรหมคุณาภรณ์(2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ การ พิมพ์.หน้า 439
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)(2543).พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกับ.หน้า 27
พระทนงค์ศักดิ์ ปภงฺกโร (ดื่นขุนทด)(2554) .การมองโลกตามหลักพุทธปรัชญา. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ราชบัณฑิตยสถาน(2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน .กรุงเทพมหานครมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. หน้า 366
ราชบัณฑิตยสถาน.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542.กรุงเทพมหานคร มหานคร :บริษัทนาน มีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์,2546.หน้า 521
สุนทร ณ รังสี (2544).พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก, พิมพ์ครั้งที่ 3, หน้า 49.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส(2529). สารานุกรมพระพุทธศาสนา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.หน้า 91.
อัคคัญญสูตร.พระไตรปิฎก เล่ม 15 ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีฆนิกาย.หน้า 145
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์