การพัฒนาประเทศไทย 4.0 ด้วยหลักไตรสิกขา

ผู้แต่ง

  • อารดา ฉิมมากูร

คำสำคัญ:

1.ประเทศไทย 4.0, 2.ไตรสิกขา

บทคัดย่อ

รัฐบาลไทยได้ประกาศใช้โมเดลประเทศไทย 4.0 ในปี พ.ศ. 2559 โดยนโยบายของรัฐฯ นั้น เน้นการสร้างนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนของเศรษฐกิจไทยจากโมเดล Thailand 4.0 มาถึงแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีตามนโยบายการปฏิรูปประเทศไทยของรัฐบาลซึ่งมีเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรมด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายในและขับเคลื่อนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกลไกประชารัฐและมีคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาดังนั้น การพัฒนาประเทศไทย 4.0 จำเป็นต้องอาศัยความรู้ด้านการพัฒนาของศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาเรียนรู้ และเป้าหมายและความสำคัญของการพัฒนาโดยแนวคิดและกระบวนการพัฒนาโดยใช้คนเป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบูรณาการความรู้ตามหลักไตรสิกขาในพระพุทธศาสนาที่นำเข้ามาผสมผสานเกิดเป็นองค์ความรู้และกระบวนการใหม่ ๆ ในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป

References

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2540)
.สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ, เล่มที่ 24, เรื่องที่ 9, แผนพัฒนาประเทศ/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 - 2544).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2535).พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหา
นคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547).การจัดการความรู้พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร : ธรรกมลการ
พิมพ์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539).ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง, (พิมพ์ครั้งที่ 30). กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์.(พิมพ์ครั้งที่ 12).
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540).พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิต.กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542).พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
อักษรเจริญทัศน์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-14