การมีส่วนร่วมทางการเมืองตามแนวพุทธศาสนาของประชาชน ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
คำสำคัญ:
1.การมีส่วนร่วมทางการเมือง, 2.พุทธศาสนา, 3.ประชาชนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการมีส่วนร่วมทางการเมืองตามแนวพุทธศาสนาเพื่อเปรียบเทียบและปัจจัยสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนส่วนมากมีความรู้เรื่องหลักพรหมวิหารธรรม คือ หลักเมตตา หลักกรุณา หลักมุทิตา และหลักอุเบกขา อยู่ในระดับสูง การทดสอบสมมติฐาน พบว่า สถานภาพส่วนบุคคลต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมืองตามแนวพุทธศาสนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนแนวทางแก้ไขในการประยุกต์ใช้หลักธรรม คือ การนำไปปฏิบัติให้มากขึ้น
References
พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ศาสตราจารย์พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก.มณีแห่งปัญญา. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา และสถาบันบรรลือธรรม, ม.ป.ป.
พระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต).ธรรมนูญ: พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม.พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, 2545.
พระมหาสุทธิชัย ฐิตชโย (ถาวรศิล). “ศึกษาเชิงวิเคราะห์พรหมวิหาร 4 ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหามกุฏ ราชวิทยาลัย, 2546.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134/ตอน 40 ก /6 เมษายน 2560 /หน้า1.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). รวมธรรมะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด มหาชน, 2543.
สำนักงานทะเบียนราษฎรเมืองพัทยา, 25 ธันวาคม 2560.
สุภาพร พิศาลบุตร, จริยธรรมทางธุรกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพมหานคร: วีรัตน์เอ็ดดูเคชั่น, 2549.
ไสว มาลาทอง. คู่มือการศึกษาจริยธรรม สำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา นักบริหาร นักปกครอง และประชาชนผู้สนใจ
ทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, 2542.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์