วิเคราะห์เรื่องของความงามระหว่างเพลโตกับอริสโตเติล

ผู้แต่ง

  • สรวิชญ์ วงษ์สอาด

คำสำคัญ:

: 1.ความงาม, 2.การเลียนแบบ, 3.สุนทรียศาสตร์, 4.โลกแห่งแบบ

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์เรื่องของความงามระหว่างเพลโตกับอริสโตเติล พบว่าความงาม คือ เป็นต้นแบบต่าง ๆ ของสรรพสิ่งที่เป็นเนื้อแท้แห่งวัตถุทางผัสสะ 2 แหล่งใหญ่ๆ ได้แก่ (1) ความงามที่ประจักษ์ชัดอยู่ในธรรมชาติ และ (2) ความงามที่มนุษย์สร้างสรรค์หรือสิ่งปรุงแต่งขึ้นรูปแบบของสุนทรียะที่เกิดขึ้นจากปัจจัย ในเชิง “วัตถุวิสัย” หรือเป็นเรื่องของ “อัตวิสัย” ของแต่ละบุคคลเท่านั้น ที่มีอยู่ในโลก 2 ประเภท คือ (1) โลกที่ปรากฏหรือโลกทางประสาทสัมผัส และ (2) โลกแห่งแบบหรือมโนคติ ซึ่งทั้ง 2 ทฤษฎีนี้ เป็นเพียงปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน เพราะความงามเป็นเอกภาพและมีความสมบูรณ์ในองค์ประกอบของศิลปะที่แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึก ที่อยู่เหนือประสาทสัมผัสที่แท้จริงกว่าโลกที่ประจักษ์ในชีวิตประจำวัน (ผัสสะ) มีลักษณะอย่างเดียวกับแบบหรือมโนคติ ที่เพลโตและอริสโตเติลเชื่อว่า ธรรมชาติหรือความจริงของศิลปะแห่งเหตุผลเป็นผู้มีความดี มีปัญญา ความกล้าหาญ สามารถควบคุมความต้องการของตนได้ เพราะความดีที่มนุษย์สามารถรู้จักโลกแท้จริงได้ด้วยเหตุผลของชีวิตนั้นเอง

References

กีรติ บุญเจือ, ชุดปัญหาปรัชญา ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. 2522.
จรูญ โกมุทรัตนานนท์. สุนทรียศาสตร์ กรีก-ยุคฟื้นฟู. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
จรูญ โกมุทรัตนานนท์. สุนทรียศาสตร์. นนทบุรี : เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์, 2539.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ (ปรัชญากรีก) (Ancient Western Philosophy). กรุงเทพมหานคร:: มหาลัยรามคำแหง, ม.ป.ป.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. รศ. จริยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: มหาลัยรามคำแหง, 2550.
ทวีเกียรติ ไชยยงยศ. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2538.
บุญทัน ดอกไธสง. พื้นฐานแนวความคิดและปรัชญาทางการเมือง. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2523.
บุญมี แท่นแก้ว. พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2545.
พระทักษิณคณาธฺกร. ปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก, 2544.
พระทักษิณคณาธฺกร. ปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิกจำกัด, 2544.
พ่วง มีนอก. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายตำราและอุปกรณ์การศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2530.
รศ.ดร. สุจิตรา อ่อนค้อม. ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อักษราพิพัฒน์,2545.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548.
ลักษณวัต ปาละรัตน์. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2551.
สุเชาวน์ พลอยชุม. สุนทรียศษศตร์ ปัญหาและทฤษฎีเกี่ยวกับความงามละศิลปะ. พิมครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:มหามงกฏราชวิทยาลัย, 2545.
อนงค์ โกวิทเสถียรชัย. “มนุษย์ในอุดมคติ : การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดในคัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตรและงานเขียนเรืองอุดมรัฐของเพลโต”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541
เอกชัย สุนทรพงศ์ และเสานิตย์ แสงวิเชียร. ความงามสุนทรียศาสตร์สำหรับผู้ใฝ่รู้. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสสโตร์, 2529.
http://bubeeja.blogspot.com/2013/01/blog-post_20.html .สืบค้นวันที่ 16 ตุลาคม 2562.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-01-04