บทบาทของวัด : สถานที่ฝึกปฏิบัติหรือศูนย์กลางสาธารณะ

ผู้แต่ง

  • สิริมิตร สิริโสฬส

คำสำคัญ:

บทบาท, วัด, ศูนย์กลางสาธารณะ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ต้องการ ศึกษาบทบาทของวัด สภาพทั่วไปในการพัฒนาวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ จากการศึกษาจะเห็นได้ว่า วัดแบ่งตามสภาพฐานะมี 3 ประเภท พระอารามหลวง วัดราษฎร์ วัดร้าง และวัดมีบทบาทด้านกิจกรรมด้านศาสนบริการ กิจกรรมด้านชุมชนบริการ กิจกรรมของวัดจะเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของพุทธศาสนิกชน กิจกรรมด้านการจัดสวัสดิการ กิจกรรมด้านการอนุรักษ์และการเผยแพร่ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมด้านการบริหาร กิจกรรมด้านศาสนศึกษาเพื่อประชาชน กิจกรรมด้านสาธารณสงเคราะห์ กิจกรรมด้านการเผยแพร่ศาสนธรรม ทั้งนี้วัดมีแนวทางในการปฏิบัติเพื่อนำมาสู่การเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชน 6 ด้าน คือ ด้านการปกครอง ด้านการศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ การสาธารณูปการ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการสาธารณสงเคราะห์ 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2525). กิจกรรมของวัดซึ่งเป็นที่เลื่อมใส่ของพุทธศาสนิกชน. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา.

สำนักงานพระพุทธศาสนา. (2554). วัดกับชุมชน. (ออนไลน์). แหล่งที.มา : http://www.onab.go.th/index.php?option=com_content&view= article&id=2336: 2010- 02-16-12-26-50&catid=38:2009-03-01-22-04-24&Itemid=157. 24 กุมภาพันธ์ 2555.

สาระแห่งธรรม. (2548). บทบาทของวัดในประเทศไทย. (ออนไลน์). แหล่งที.มา : http://www.gotoknow.org/blog/rainalone/333216. 24 กุมภาพันธ์ 2555.

พระครูปลัดสราวุธฐิตปญฺโญ. (2563).การพัฒนาวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชนในจังหวัดชลบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน. หน้า 505.

กาญจนา แกวเทพ. (2543).การสื่อสารกับพื้นที่สาธารณะ : ทัศนะของ Habermasใน มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ : นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัมภาษณ์ ผศ.ดร.ปุรินทร์ นาคสิงห์ ภาควิชาสังคมและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-24