สุนทรียศาสตร์ในนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่

ผู้แต่ง

  • ธัญลักษมณ์ อารยตานนท์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย
  • พระมหาพจน์ สุวโจ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สุนทรียศาสตร์, นิราศ, สุนทรภู่

บทคัดย่อ

บทความสุนทรียศาสตร์ในนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาสุนทรียศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาวรรณกรรมประเภทนิราศ 3) เพื่อศึกษาสุนทรียศาสตร์ในนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่ ผลการศึกษาพบว่า สุนทรียศาสตร์เป็นปรัชญาสาขาที่ว่าด้วยเรื่องความงาม ศาสตร์ที่เรียกกันทั่วไปว่าความงามเกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมนุษย์สร้างขี้นในงานศิลปะทุกสาขา สามารถพบเห็นความงามแง่มุมต่าง ๆในวรรณกรรมประเภทนิราศที่เป็นพรรณณาโวหาร ตามหลักสุทนรียศาสตร์ โดยเฉพาะด้านพุทธปรัชญาพบว่า มีการสอดแทรกแฝงไปด้วยหลักการดำเนินชีวิตที่อาศัยปัญญาจากหลักธรรมเช่น ไตรลักษณ์ หลักกรรม อธิษฐานธรรม 4 สัมมาวาจา ธรรมทำให้งาม 2 การไม่คบคนพาล ศีล 5 โลกธรรม 8 ความกตัญญูกตเวที ทั้งนี้ยังพบว่าในนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่แสดงสุนทรียศาสตร์ในด้านวรรณศิลป์ สัมผัสสระ สัมผัสอักษร แสดงวิถีการดำเนินชีวิตไปถึงขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม สะท้อนอัตลักษณ์ของสังคมไทยอย่างงดงาม ยังให้ข้อคิดและคติธรรมตามหลักพระพุทธศาสนาที่สามารถนำไปใช้ในชีวิต

References

กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์, พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. (2513). ผสมผสาน ชุดที่ 3. พระนคร: ผดุงศึกษา. หน้า 14-86.

กีรติ บุญเจือ. (2522). ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

กำจร สุนพงษ์ศรี. (2556). สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปวิจารณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

______. กลอนนิราศ. เข้าถึงข้อมูล. 18/09/2564 http://sawitree HYPERLINK

กุสุมา รักษมณี. (2546). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

จิตศริณย์พร ปัญจวัฒนคุณ. (2563). การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์. ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2518). ชีวิตและงานของสุนทรภู่. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ: คลังวิทยา.

บุญเยี่ยม แย้มเมือง. (2537). สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮ้ำส์.

เปลื้อง ณ นคร. (2513). ประวัติวรรณคดีไทยสำหรับนักศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. หน้า 9

พระเรืองเดช โชติธมฺโม. (เสียงเพราะ) และคณะ. (2560). วิเคราะห์หลักไตรลักษณ์ในเชิงสุนทรียศาสตร์. สาขาวิชาปรัชญา พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1, มกราคม – มิถุนายน.

______. นิราศภูเขาทอง. เข้าถึงข้อมูล. 18/09/2564. https://th.wikipedia.org/wiki

มหามกุฏราชวิทยาลัย. มูลนิธิ. (2525) พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย (91 เล่ม). เล่ม 1, 15, 20, 25.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

______. เรียนรู้จากนิราศ. เข้าถึงข้อมูล 20/09/2564.http://www.thaiheritage.net/nation/nirad/ nirad.htm

สมเกียรติ ตั้งนโม. (2534). ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดสุนทรียศาสตร์ในพุทธศาสนากับปรัชญาของเพลโต.

บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.

______. สุนทรภู่. เข้าถึงข้อมูล 18/09/2564. https://www.trueplookpanya.com/blog/content/

______. สุนทรียศาสตร์. เข้าถึงข้อมูล 18/09/2564 https://sites.google.com/sitekrujeanky/ สืบค้น 18 ก.ย. 2564

โสรัจจ์ หงศลดารมภ์. (2560). ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

______. หนังสือชาวสยาม. เข้าถึงข้อมูล. 18/09/2564 https://www.sac.or.th/databases/siam rarebook sold.

KruJeanky. การวิจารณ์วรรณคดีเรื่องนิราศภูเขาทองตามแนวสุนทรียศาสตร์. สืบค้น 18/08/2564. https://. sites.google. com /sitekrujeanky/

______. บทเรียนออนไลน์เรื่องสุนทรียศาสตร์"บทเรียนออนไลน์เรื่องสุนทรียศาสตร์ เว็ปไซต์ใช้ประกอบการสอนรายวิชา Pc54504 เทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับครู สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษย์ศาสคร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.เข้าถึงข้อมูล 25/08/2564. https://sites.google.com/site/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-14