การศึกษาเพื่อการพัฒนาชีวิตตามแนวพุทธศาสตร์
คำสำคัญ:
การศึกษา; , การพัฒนาชีวิต; , พุทธศาสตร์บทคัดย่อ
การศึกษาคือชีวิตเพราะชีวิตเป็นการศึกษาความเป็นอยู่การดำเนินไป การเคลื่อนไหว การเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาทุกช่วงจังหวะของชีวิต เพื่อการเอาตัวรอด ทำให้เกิดแรงผลักดันแห่งการเรียนรู้ตลอดเวลา จึงเรียกว่า “สิกขา” ส่วนการดำเนินชีวิตนั้นคือ “มรรค” ดังนั้นการศึกษาเพื่อการพัฒนาชีวิต จึงต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งระบบ ได้แก่ 1) ความสัมพันธ์ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม (ศีล) 2) ด้านจิตใจ (สมาธิ) และ 3) ด้านปัญญา
References
พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). 2546. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 10, กรุงเทพ ฯ: บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระธรรมปิฏก, (ป.อ. ปยุตฺโต). 2543. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 9,กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต), 2538. พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). 2539. ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต ). 2540. การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฏก, (ป.อ. ปยุตฺโต). 2536. พุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระธรรมปิฏก, (ป.อ. ปยุตฺโต). 2538. การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา.
พระธรรมวิสุทธิกวี, (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). 2545. อนุปุพพิกถาทีปนี ภาค 2 การพรรณนาศีล. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2525. พระไตรปิฏกภาษาไทย (ฉบับสยามรัฐ). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2540. วิสุทฺธิมคฺคสฺสนาม ปกรณวิเสสสฺส ปฐโม ภาโค. พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2531. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
วศิน อินทสระ. 2519. หลักคำสอนสำคัญในพระพุทธศาสนา (พุทธปรัชญาเถรวาท). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์บรรณาคาร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Journal of Philosophical Vision
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์