การประยุกต์หลักภาวนา 4 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพของวัดวังขนายทายิการาม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คำสำคัญ:
พุทธธรรม; , การสร้างเสริมสุขภาพ; , วัดวังขนายทายิการามบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการเสริมสร้างสุขภาพตามหลักภาวนา 4 ของวัดวังขนายทายิการาม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษาพบว่า มีการนำหลักภาวนา 4 มาประยุกต์ในการสร้างเสริมสุขภาพของวัดวังขนายทายิการาม โดยผ่านกิจกรรม/โครงการ ต่าง ๆ ดังนี้ หลักจิตตภาวนา และหลักกายภาวนา ผ่านกิจกรรมการปลูกต้นไผ่เพิ่มพื้นที่สีเขียว และโครงการเดินวิ่งสมาธิการกุศล หลักสีลภาวนา ผ่านกิจกรรมอบรมพี่เลี้ยงอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยสูงอายุ
และโครงการฝึกสัมมาชีพเกษตรอินทรีย์ หลักปัญญาภาวนา ผ่านกิจกรรมประกวดป้ายคำขวัญธรรมะ “สื่อธรรมนำปัญญา” นอกจากนี้แล้ว วัดวังขนายทายิการามมีกิจกรรมอื่นที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น
การแช่น้ำแร่ธรรมชาติเพื่อการบำบัดโรค การนวดแผนโบราณ การวิ่งการกุศลเพื่อสุขภาพประจำปี การสงเคราะห์ผู้สูงอายุและผู้ป่วย เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้สามารถนำมาหลักภาวนา 4 มาประยุกต์
ได้ทั้งสิ้น
References
เกษม ชูรัตน์. (2559). การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อชีวิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2560). การคิดเชิงประยุกต์. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2567, จาก //https://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_Applicative.htm.
ดิเรก ฤกษ์หร่าย. (2558). ประสบการณ์วิชาชีพส่งเสริมการเกษตร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล. (2550). เอกสารการสอนชุดวิชาธรรมานามัย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บุญยง เกี่ยวการค้า, กิตติ ไชยลาภ. (2551). การสาธารณสุขทั่วไป. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปกรณ์ ปรียากร. (2545). การบริหารกับการพัฒนาชนบท. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2555). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภรณี ต่างวิวัฒน์. (2557). การพัฒนาชุมชนเกษตร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เยาวภา ปิ่นทุพันธ์. (2551). การสาธารณสุขทั่วไป. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรมศัพท์รัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุคส์พับลิเคชั่น จำกัด.
วิไลพร อุ่นเจ้าบ้าน. (2560). การเสริมสร้างสุขภาพชุมชนด้วยอปัณณกปฏิปทา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สดใส คุ้มอนันต์ทรัพย์. (2556). การจัดการเครือข่ายสุขภาพจิตชุมชน ศึกษากรณีชุมชนวัดบางระโหงและชุมชนวัดรวกบางสีทอง จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชาติ โตรักษา. (2558). หลักการบริหารเพื่อการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหพัฒนไพศาล.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2553). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนา ไทย-อังกฤษ, อังกฤษ -ไทย. นครปฐม : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อุทัย สุดสุข. (2554). สาธารณสุขในพระไตรปิฎกบูรณาการสู่สุขภาพที่ดีชีวีมีสุข. นนทบุรี: เทพประทานการพิมพ์.
World Health Organization. (n.d.). Mental health? Retrieved May 20, 2023, from https://www.who.int/health-topics/mental-health#tab=tab_1
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารปรัชญาปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์