ปัจจัยของการจัดการความรู้ และองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติการขององค์การของบริษัทเจพีเจ อินดัสเตรียล เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จากัด

ผู้แต่ง

  • ธัญนันท์ บุญอยู่
  • จารุพงศ์ จารุรัตนานนท์

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้, องค์การแห่งการเรียนรู้, ผลการปฏิบัติงานขององค์การ บริษัทเจพีเจ อินดัสเตรียล เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จากัด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ และผลการปฏิบัติงานของ บริษัทเจพีเจ อินดัสเตรียล เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จากัด และ (2) ศึกษาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ในฐานะตัวแปรคั่นกลาง ที่เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้ ส่งผลการปฏิบัติงานของ บริษัทเจพีเจ อินดัสเตรียล เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จากัด และการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ในความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่สามารถวัดลักษณะ และพฤติกรรมเป็นตัวเลขได้ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) กับประชากรกลุ่มตัวอย่างของพนักงานบริษัทเจพีเจ อินดัสเตรีล เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งได้แก่ ผู้จัดการฝ่าย วิศวกร พนักงานบัญชีและธุรการ เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัย หัวหน้างาน ช่างเชื่อม ช่างเทคนิค ผู้ช่วยช่างและพนักงานรายวัน จานวน 100 ตัวอย่าง เพื่อทาการวิเคราะห์และประมวลผลตัวแบบสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model--SEM) โดยการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างด้วยการใช้โปรแกรม PLS Graph 3.0
ผลจากการศึกษาพบว่า การจัดการความรู้และองค์ประกอบของการจัดการความรู้ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก โดยการจัดการความรู้ที่มุ่งเน้นการนาความรู้มาใช้ปรับปรุงระบบปฏิบัติการงานได้มีค่าเฉลี่ยสูงสุดและรองลงมาคือ การแสวงหาหรือการเรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนการศึกษาตัวแปรทางด้านองค์การแห่งการเรียนรู้และองค์ประกอบแห่งการเรียนรู้ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ในระดับมาก โดยองค์การแห่งการเรียนรู้ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม มีค่าเฉลี่ยสูงสุดและรองลงมาคือ องค์การแห่งการเรียนรู้ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม สาหรับการศึกษาทางด้านผลการปฏิบัติงานขององค์การรวมถึงองค์ประกอบพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งผลการดาเนินงานด้านผลิตภาพมีค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือ ผลการดาเนินงานเกี่ยวกับนวัตกรรม

References

ธัญนันท์ บุญอยู่ (2559). อิทธิพลคั่นกลางแบบอนุกรมของทุนทางปัญญาและการเป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์การสู่ผลการดาเนินงานสาหรับอุตสาหกรรมต่อตัวถังรถโดยสาร, ดุษฎีนิพนธ์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง

นพวรรณ อริยะเดช (2555). ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานขององค์การธุรกิจขนส่งทางอากาศ. ดุษฎีนิพนธ์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง

นงนุช อุณอนันต์ (2559). รูปแบบการจัดการความรู้ในธุรกิจขนาดใหญ่ ศึกษากรณีโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเลขนาดใหญ่ ในจังหวัดสมุทรสาคร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559

บุญอนันต์ พินัยทรัพย์. (2552). องค์การและการจัดการความรู้: สถานการณ์การจัดการความรู้ในภาคเอกชนขนาดใหญ่. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 1(1), 23.-47

พนม ภัยหน่าย. (2542). การบริหารงานก่อสร้าง. กรุงเทพฯ: ส่วนตาราสนับสนุนเทคนิค อุตสาหกรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) หน้า 4

มนตรี พิริยะกุล. (2553). ตัวแบบเส้นทางกาลังสองน้อยที สุดบางส่วน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคาแหง, คณะวิทยาศาสตร์, ภาควิชาสถิติ.

วิจารณ์ พานิช. (2549). การจัดการความรู้: ฉบับนักปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สุขภาพใจ. กระทรวงอุตสาหกรรม.สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Al-Alawi, A. I., Al-Marzooqi, N. Y., & Mohammed, Y. F. (2007). Organizational culture and knowledge sharing: Critical success factors. Journal of Knowledge Management, 11(2), 22-42

Barney, J. B. (1991). The resource based view of strategy: Origins, implications, and prospects. Journal of Management, 17, 97-221.

Barney, J. B. (2001). Is the resource-based “view” a useful perspective for strategic management research. Academy of Management Review, 26(1), 41-56.

Business Week. (2009). The 50 most innovative companies. Retrieved September 30, 2011, from http://www.businessweek.com

Cheng, F. H., Yeh, C. H., & Tu, C. W. (2008). Trust and knowledge sharing in green supply chains. Supply Chain Management, 13(4), 283-295.

Debowski, S. (2006). Knowledge management. Sydney: John Wileys & Sons

Drucker, P. F. (1999). Knowledge worker productivity the biggest challenge. California Management Review, 41(2), 79-81

Gibson, J. L., Ivancevich, J. M., & Donnelly, J. H. (1997). Organizational behaviour, structure, process. Boston: McGraw-Hill.

Grant, R. M. (1991). The resource-based theory of competitive advantage: Implications for strategy formulation. California Management Review, 33, 114-135.

Hammermeister, J. (2006). Management control systems, strategy, and organization effectiveness: A transaction cost economics perspective. Dissertation Abstracts International, 38(02), 118-A. (UMI No. 3178213)
International Labour Office Geneva. (2001). The social impact on civil aviation of events subsequent to 11 September 2001. Geneva: Author.

Jumara, J. (2005). A case study of the influence of organization theory on organizational change. Dissertation Abstracts International, 61(3), 243-A. (UMI No. 3199229)

Nonaka, K., & Takeuchi, H. (2000). Classic work: Theory of organizational knowledge creation. Cambridge, MA: The MIT Press.

Prahalad, C. K., & Hamel, G. (1990). The core competence of the corporation. Harvard Business Review, 68(3), 79-93

Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. New York: Random House

Sedera, D., Chan, T., & Gable, G. (2004). Knowledge management as an antecedent of enterprise system success. The Journal of Strategic Information Systems, 19(4), 121-127.

Teece, D. J., Pisano, G., & Shuen, A. (1997). Dynamic capabilities and strategic management. Strategic Management Journal, 18, 509-533

Toffler, A. (1980). The third wave. New York: William Marrow.

Wernerfelt, B. (1984). A resource-based view of the firm. Strategic Management Journal, 5, 171-180.-2.

Yilmaz, A. (2008). The corporate sustainability model for airline business. Journal of Scientific Research, 22(3), 304-317.

ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) กระทรวงอุตสาหกรรม ตุลาคม 2559

K SME Analysis “SME ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างที่อยู่อาศัยปรับตัวรับโอกาสปี 2559” ธนาคารกสิกรไทย ตุลาคม, 2558

แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555 – 2574 กระทรวงอุตสาหกรรม มีนาคม 2554 หน้า 1 – 2

บทที่6 แนวทางการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ SMEs ที่มีการเติบโตสูงของประเทศไทย สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2557 หน้า 22 – 23

อุษิณ วิโรจนเตชะ (2554) บทความเรื่อง Eco-City กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 สืบค้นจาก file:///D:/JJ%20Master%20Dee56 = 5065 = 50gee/ JJ%20Thesis%20KM-LO-OP%20 Aug24-2017/Eco_City%20%E0%B8%AD%E0% B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%B4%E0%B8%93%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%8A%E0%B8%B0%202554%20%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1 .pdf เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2560

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-28