สำนวนจีน: เจตนาการใช้
คำสำคัญ:
สำนวนจีน, เจตนาการใช้, ที่มาของสำนวนจีนบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัย เรื่อง สำนวนจีน: เจตนาการใช้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดประเภทสำนวนจีนโดยแบ่งตามเจตนาการใช้ (2) อธิบายความหมาย ที่มาและยกตัวอย่างสำนวนจีน ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจเจตนาการใช้สำนวนนั้นมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยรวบรวมสำนวนจีนจำนวน 154 สำนวน และนำมาวิเคราะห์เพื่อศึกษาเจตนาการใช้ความหมายของสำนวนจีน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หนังสือ ตำรา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการใช้พจนานุกรมจีน-ไทย พจนานุกรมสํานวนจีน-ไทย เป็นหลักในการพิจารณา และผู้วิจัยใช้ความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์เจ้าของภาษาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัยการใช้สำนวนจีนตามเจตนาการใช้ดังนี้ สำนวนจีนตามเจตนาการใช้มี 5 ลักษณะคือ สำนวนจีนบอกเจตนาตําหนิ จำนวน 20 สำนวน บอกเจตนาตักเตือน จำนวน 32 สำนวน บอกเจตนาแสดงความเห็น จำนวน 28 สำนวน บอกเจตนาชื่นชม จำนวน 38 สำนวน และบอกเจตนากล่าวประชดประชัน จำนวน 26 สำนวน
References
กาญจนาคพันธุ์. (นามแฝง, ขุนวิจิตรมาตรา. 2513). สำนวนไทย. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
จินดาพร พินพงทรัพย์. (2545). การศึกษาสำนวนจีนที่ประกอบด้วยตัวอักษรมากกว่า 4 ตัว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เฉิน หยงหลิน. (2526). สำนวนจีนและสำนวนไทย : การศึกษาเปรียบเทียบ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เชิดชัย ผาสุพงษ์. (2545). พจนานุกรมสํานวนจีน-ไทย. กรุงเทพฯ: พู่กันจีน.
ธันยา พิชัยแพทย์. (2531). การวิเคราะห์ลีลาภาษาในการรณรงค์หาเสียงของ ส.ส. สมัคร สุนทรเวช (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2535). พจนานุกรมจีน-ไทย. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
ประภัสสร วศินนิติวงศ์. (2544). สนุกกับสํานวนจีน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส.
มานิต เจียรบรรจงกิจ. (2542). ชุมนุมสํานวนจีน เล่ม 1-3. กรุงเทพฯ: ทฤษฎี.
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จ. (2545). เมื่อข้าพเจ้าเป็นนักเรียนนอก (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สุนันท์ อัญชลีนุกูล. (2543). คำพังเพย: รูปภาษาและเจตนาการใช้. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 43 (17), 145 -155.
เสี่ยว อานต้า. (2547). ไวยากรณ์จีน. กรุงเทพฯ: ทฤษฎี.
Chen Kang陈抗, Dong Kun董琨Sheng Dongling盛冬铃. (2002).《多功能成语词典》, 上海:汉语大词典出版社.
Li Dingkai李定凯Wang Zhijie王治杰. (2002).《成语应用词典》, 上海:上海辞书出版社.
Wan Yiling 万艺玲. (2000)《汉语词汇教程》,北京:北京语言文化大学出版社.
Wen Duanzheng 温端政. (2004)《中国歇后语大词典》,上海:上海辞书出版社.
Zhu Zuyan朱祖延. (2004).《汉语成语大词典》,北京:中华书局.
Burgers, C., Mulken, M. V., & Schellens, P. J. (2012). Type of evaluation and marking of irony: The role of perceived complexity and comprehension. Journal of Pragmatics, 4, 231-242.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสุทธิปริทัศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสุทธิปริทัศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสุทธิปริทัศน์ก่อนเท่านั้น