การส่งเสริมการผสมผสาน: การพัฒนาและจัดการหลักสูตรศึกษาอิสลามสำหรับทิศทางการศึกษาของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อับดุลฮาฟิซ หิเล วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • อาทิตย์ นูระบ๊าฟ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • อุสมาน มะดามิ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การศึกษาอิสลามศึกษา, การออกแบบหลักสูตรในประเทศไทย, การผสมผสานทางวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาสำหรับบริบทที่มีความเฉพาะของการศึกษาในประเทศไทย โดยเสนอว่า การพัฒนาหลักสูตรควรมุ่งความสนใจที่ความซับซ้อนและความหลากหลายของสภาพแวดล้อม การเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยกรอบการพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาต้องเชื่อมโยงคุณค่าของศาสนาอิสลามและความเป็นไทย เช่น ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและการศึกษา เป็นต้น ในบทความนี้ยังวิเคราะห์สถานการณ์การศึกษาอิสลามในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้าของการพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องการตอบสนองวัฒนธรรมทางมุสลิมยังคงมีความสำคัญและเป็นประเด็นที่ซับซ้อน นอกจากนี้บทความยังวิเคราะห์เพิ่มเติมเกี่ยวกับความเข้าใจในต้นกำเนิดของประเทศไทยที่มีผลต่ออิสลามสมัยใหม่ โดยรวมแล้วการผสมผสานความต้องการของการศึกษาอิสลามต้องมีความสมดุล เนื่องจากความซับซ้อนและต้องมีการนำเสนอหลักสูตรที่เป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย

References

Arphattananon, T. (2018). Multicultural education in Thailand. Intercultural Education, 29(2), 149–162. https://doi.org/10.1080/14675986.2018.1430020

Bond, M., & Bedenlier, S. (2019). Facilitating student engagement through educational technology: Towards a conceptual framework. Journal of Interactive Media in Education, 11(1), 1–14. https://doi.org/10.5334/jime.528

Garcia, K., & Pantao, J. (2021). Cultural sensitivity and classroom management of teachers. International Journal of Professional Development, Learners and Learning, 3(1), ep 2108. https://doi.org/10.30935/ijpdll/11093

Kraince, R. (2007). Islamic higher education and social cohesion in Indonesia. Prospect, 37(3), 347-356. https://doi.org/10.1007/s11125-008-9038-1

Laal, M., & Ghodsi, S. (2012). Benefits of collaborative learning. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 31, 486–490. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2011.12.091

Masriah, T., Ajizah, W., & Mahwiyah. (2023). Islamic education curriculum development. Journal of Learning, Teaching and Educational Studies, 1(1), 15-21. https://doi.org/10.61166/amd.v1i1.3

Riinawati, R. (2022). Strategy of financing management to improve the quality of Islamic Education Institution. AL-ISHLAH: Jurnal Pendidikan, 14(3), 2757-2768. https://doi.org/10.35445/alishlah.v14i3.1519

Susilowati, T. (2023). Framework of intercultural learning in speaking for Islamic higher education in the international context. Script Journal Journal of Linguistic and English Teaching, 8(1), 83-97. https://doi.org/10.24903/sj.v8i01.1170

Thailand, Ministry of Education. (2021). National curriculum framework. https://ncf.ncert.gov.in/#/web/home

Wekke, I. S., Siddin, S., & Langputeh, S. (2019). Islamic education in Thailand Pattani Muslim Minority: What are the institutional continuity and change?. Tadris: Jurnal Keguruan dan Ilmu Tarbiyah, 4(1), 127-134. https://ejournal.radenintan.ac.id/index.php/tadris/article/view/3753

Zakariya, H. (2014). Community engagement in Malaysian higher education: An overview. Proceedings of SOCIOINT14- International Conference on Social Sciences and Humanities (pp. 612-616). Istanbul, Turkey. https://www.researchgate.net/publication/280527604_COMMUNITY_ENGAGEMENT_IN_MALAYSIAN_HIGHER_EDUCATION_AN_OVERVIEW

ซัมซู สาอุ และ สุวรรณี หลังปูเต๊ะ. (2559). การศึกษาอิสลามในอาเซียน: สถานภาพและความท้าทาย. วารสารอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7(2), 19-32. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/170060

ซิดดิก อาลี และ ดลมนรรจน์ บากา. (2555). วิวัฒนาการการเรียนการสอนอิสลามศึกษาของโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย. วารสารอัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 7(13), 55-64. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/NUR_YIU/article/view/4651

มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ, จารุวัจน์ สองเมือง, มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์, ยุโสบ บุญสุข, และ สราวุธ สายทอง. (2564). คุณลักษณะพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนอิสลามศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในประเทศไทย. วารสารอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 32(2), 40-50. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jil/article/view/253437

อดิศักดิ์ นุชมี. (2565). การพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 17(2), 84-101. https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/jla/article/view/2754

อานนท์ อุ่นธง. (2560). ปรัชญาประเพณีของศาสนาอิสลามที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย. พุทธมัคค์, 2(2), 12-21. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bdm/article/view/179610

อามีน ลอนา. (2557). พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ. 2511) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU Digital Digital. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:104628

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-25