ไตรสิกขากับการส่งเสริมการศึกษา
คำสำคัญ:
ไตรสิกขา, การส่งเสริมการศึกษาบทคัดย่อ
ไตรสิกขากับการส่งเสริมการศึกษาตามแนวทางพุทธปรัชญาเถรวาทของพระพุทธเจ้านั้นตรงตามแบบตำหรับการนิเทศศาสตร์ กล่าวคือ จะทรงตั้งจุดมุ่งหมายในการสอนว่าทรงกำหนดจุดมุ่งหมายแต่ละครั้งเพื่ออะไร แล้วทรงเตรียมเนื้อหาหรือเรื่องที่จะสอนไปตามลำดับความยากง่ายไปพร้อม ๆ กับคำนึงถึงคนผู้รับการสอนด้วยว่าเขาจะรับได้หรือไม่ เขาสามารถเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร ทั้งนี้เพราะเทคนิค และวิธีการที่ตรัสไว้หลากหลายรูปแบบวิธีการดังกล่าว จึงทำให้ระยะแรกที่ทรงประกาศศาสนา มีบุคคลทุกชั้นวรรณะเลื่อมใสศรัทธาอุปสมบทตามและบรรลุธรรมเป็นส่วนมาก หรือถึงแม้บางคนจะมิได้อุปสมบทก็ตาม แต่ได้น้อมนำเอาหลักคำสอนไปใช้ในการดำเนินชีวิตที่สุขสงบในระดับบุคคลและครอบครัว ชุมชนและสังคม ทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองมาโดยลำดับ และเพื่อให้เป็นต้นแบบแก่พระสาวกได้ยึดถือเป็นแนวทางในการเผยแผ่สืบทอดประยุกต์และพัฒนารูปแบบทางการศึกษาและการเผยแผ่มาถึงพระสงฆ์ในยุคปัจจุบัน
References
2.พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ (ประเสริฐ มนฺตเสวี).(2555).อานาปานสติภาวนา. พิมพ์ครั้งทีแรกกรุงเทพ ฯ : บริษัทประยูรสาส์นไทย การพิมพ์.
3.พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พุทธวิธีในการสอน,พิมพ์ครั้งที่ 6. : กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์มูลนิธิพุทธธรรม
4.(2547). พุทธวิธีการสอน. พิมพ์ครั้งที่แรก. กรุงเทพ ฯ
5.(2541).พุทธวิธีในการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. : กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหธรรมิก.
6.(2554). พจนานุกรมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
7.พุทธทาส อินฺทปญฺโญ. (2556). ธรรมโฆษณ์พุทธทาส อริยสัจจากพระโอษฐ์ เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพ ฯ : บริษัทธรรมสภาบันลือธรรมจำกัด.
8.พระรัชเวธน์ เตชวณฺโณ (รุ่งเรือง).(2558). การจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนทีปังกร ทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา)ในพระราชูปถัมภ์ฯ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์