ศึกษาปรากฏการณ์เรื่องการขาดวินัยในสังคมไทย: มุมมองพุทธปรัชญาเถรวาท

ผู้แต่ง

  • สุณี เวชประสิทธ์
  • พระสุทธิสารเมธี ,ชัยยันต์ จตฺตาลโย

คำสำคัญ:

1.ปรากฏการณ์, 2.การขาดวินัยในสังคมไทย:, 3.มุมมองพุทธปรัชญาเถรวาท

บทคัดย่อ

การสร้างวินัยให้กับบุคคลในชาติเป็นสิ่งสำคัญ เพราะวินัยเป็นเครื่องมือในการสร้างระเบียบแบบแผน ในการดำเนินชีวิตที่ดีงามเพื่อสร้างคนให้เป็นคนดี การขาดวินัยเป็นเรื่องใหญ่ของสังคมไทยในปัจจุบัน ดังนั้นการสร้างวินัยให้กับคนในชาติจึงเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาประเทศและเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาตนเองให้มีความเคารพ กฎกติกาของสังคมและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข  และการดำเนินชีวิตตามกรอบหลักธรรมทางพุทธปรัชญา จะสามารถช่วยการแก้ปัญหาการขาดวินัยในสังคมไทยโดยการโดยการนำหลักธรรม วินัยทางธรรม ตามแนวพุทธปรัชญา  คือการสร้างวินัยด้วยการใช้ ศีล มาเป็นแนวทางในการแก้ไขและพัฒนาวินัยในการดำเนินชีวิตของคนไทยให้สอดคล้องกลมกลืน กับวิถีชีวิต และวัฒนธรรมในสังคมและสิ่งแวดล้อม ของความเป็นกัลยณมิตร ก็จะสามารถช่วยแก้ปัญหาการขาดวินัยในสังคมไทยให้ดีขึ้นได้อย่างแน่นอน

References

กีรติ บุญเจือ,(2522). ปรัชญาลัทธิอัตติภาวนิยม.กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพาณิช

ชัยวัฒน์ อัฒพัฒน์.(2530).ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์ และ วิธาน สุชีวคุป.( 2534).หลักการดำรงชีวิตในสังคม.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

พระครูปลัดสุวัฒนเมธาคุณ.(2559).พุทธศาสนา:ปรัชญาแห่งชีวิต.วารสารศึกษาศาสตร์ มมร,3(2),201-210.

พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม.(2560).มนุษยนิยมในบทกวีซีไรต์.กรุงเทพ วารา พับลิชชิง จำกัด.

พินิจ รัตนกุล,( 2541). ปรัชญาชีวิตฌอง-ปอล ซาร์ตร์, ปรัชญาชีวิตของฌอง ปอล ซาร์ตร์, กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์สามัญชน

พระพรหมคุณาภรณ์.(2559). วินัยเรื่องใหญ่กว่าที่คิด.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(ป.อ.ปยฺตฺโต).(2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์.

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช .(2541). ศีลในพระพุทธศาสนา.กรุงเทพฯ:มหามกุฎราชวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-24