คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษา หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต คณะศาสนาและปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา
คำสำคัญ:
1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์, 2. นักศึกษา, 3. หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิตบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักศึกษาปฏิบัติศาสนกิจหรือสหกิจศึกษาของหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต คณะศาสนาและปรัชญา สาขาวิชาปรัชญา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา จำนวนประชากร 15 รูป/คน โดยเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิตมีการพัฒนาตามเกณฑ์มากทุกด้าน คุณลัษณะอันพึงประสงค์ของนักศึกษาต่อการศึกษา พบว่าอยู่ในระดับมากหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต มีเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานตาม สกอ.กำหนด
References
ฐาปณีย์ ธรรมเมธา. (2557). จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. นนทบุรี : สหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่งโปรดปราน พิตรสาธรและคณะ. (2545). ที่นี่e-learning. กรุงเทพ : TJ Book.
ไพโรจน์ ตีรณธนากุลและคณะ. (2546). การออกแบบและการผลิตบทเรียน คอมพิวเตอร์การสอน. กรุงเทพ : ศูนย์ส่งเสริมคุณภาพ.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2548). อีเลิร์นนิง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติE-Learning: from theory to practice. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 จาก โครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย Thailand Cyber University Project : www.thaicyberu.go.th.
อาณัติ รัตนถิรกุล. (2553). สร้างระบบe-learningmoodle ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพ : ซีเอ็ดยูเคชั่น .
จิราพร แป้นน้อย, ชานน คุรุบรรเจิดจิต และฐานิตน์ เนคมานุรักษ์. (2552).การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้ เลินนิ่งออบเจ็ค(Learning Objectเรื่องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (เทคโนโลยีการศึกษา), มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2548). เอกสารคำสอน Reusable Learning Object. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณัฐกานต์ ภาคพรต และปณิตา วรรณพิรุณ. (2555). รูปแบบเลิร์นนิงอ็อบเจ๊กสำหรับหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักการการศึกษาบันเทิงเพื่อสนับสนุนการใช้งานบนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์. วารสารวิทยบริการ, 23 (3) : 137-147.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2550). นิยามเลิร์นนิงออปเจ็กต์ (Learning Object) เพื่อการออกแบบพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส วารสารเทคโนโลยีแสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 4(4) : 50-59.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2550). หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
สติยา ลังการ์พินธุ์. (2549). Learning Object สื่อการเรียนรู้ยุคผ่านดิจิทัล. วารสาร สสวท. 33(134) : 70-74.สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2549).
ข้อมูลด้านเวปไซค์
http://arit.mcru.ac.th/km56/admin/download/16KM_LO-1.pdf
http://mediathailand.blogspot.com/2012/04/learning-object.html
อนุชัย ธีระเรืองชัยศรี. (2552). Learning Object (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2557
จาก www.learnsquare.com/download/seminar2007/Anuchai_present_3.ppt
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์