การอธิบายตีความ “ตัณหา” ด้วยหลักเทสนาหาระ

ผู้แต่ง

  • ภิกษุณีรตนธมฺมเจตนา (ธัมมเมธา)

คำสำคัญ:

1.การอธิบาย, 2.ตีความ, 3.ตัณหา, 4.หลักเทสนาหาร

บทคัดย่อ

บทความนี้เรียบเรียงจากการศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ตำรา หนังสือต่าง ๆ มีกระบวนการตีความพระพุทธพจน์ตามแนวของคัมภีร์เนตติเป็นต้นมีวัตถุประสงค์เพื่อการอธิบายตีความ “ตัณหา” ด้วยหลักเทสนาหาระ ตามแนวของคัมภีร์เนตติ โดยมุ่งให้พุทธมามกะและผู้ศึกษาคำสอนของพระพุทธเจ้าเกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของตัณหา (เหตุเกิดแห่งทุกข์) เพื่อเป็นแรงบันดาลใจใคร่ปฏิบัติตนนำสู่หนทางความดับทุกข์

References

มหามกุฏราชวิทยาลัย, มูลนิธิ. (๒๕๕๙).พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย.
(พิมพ์ครั้งที่ ๑๒).เล่มที่ ๔, ๑๗, ๒๔,๒๗,๓๐. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราช
วิทยาลัย.
พระพรหมบัณฑิต. (๒๕๖๑). พระไตรปิฎกฉบับสากล : วิถีธรรมจากพุทธปัญญา.พระนครศรีอยุธยา :
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(๒๕๕๘).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.(พิมพ์ครั้ง
ที่ ๓๐). กรุงเทพมหานคร :สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
กีรติ บุญเจือ. (๒๕๔๙). อรรถปริวรรต คู่เวรคู่กรรม ปรัชญาหลังนวยุค. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จำรูญ ธรรมดา.(๒๕๕๕).กระบวนการตีความพระพุทธพจน์ตามแนวของคัมภีร์เนตติ,(พิมพ์ครั้งที่ ๓).
กรุงเทพมหานคร : หจก.ประยูรสาส์นการพิมพ์.
ธงชัย แสงรัตน์. (๒๕๖๐).โยนิโสมนสิการ.กรุงเทพมหานคร : สาละพิมพการ.
๒.สื่ออิเล็กโทรนิกส์https://th.wikipedia.org/wiki/ตัณหา. สืบค้นข้อมูลเมื่อ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑.
thaihealthlife.com › สุขภาพจิต/ศาสนา › ตัณหา 3 อย่าง.สืบค้นข้อมูลเมื่อ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-14