ความตายในมุมมอง 4 ศาสนา
คำสำคัญ:
ความตาย, นิพพาน, โมษะ, ชีวิตนิรันดร์บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความตายในมุมมอง 4 ศาสนา คำว่า ตาย ถูกบัญญัติขึ้นมาเพื่อใชเรียกสภาพหรืออาการที่แสดงถึงความสิ้นสุดหรือดับลงของสิ่งตางๆ ความตายเป็นกฎธรรมชาติเป็นกระบวนการอยางหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่จะตองเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไมได้ สิ่งมีชีวิตที่เรียกกันว่ามนุษย์มักมีคําถามเกี่ยวกับความตาย เช่น ทําไมคนเราต้องตาย หลังจากตายแล้วไปไหน มนุษย์ในยุคก่อนจึงพยายามที่จะแสวงหาคำตอบเพื่อให้ได้คำตอบเหล่านั้น จนกระทั่งมนุษย์ได้ค้นพบเรื่องของศาสนา คำตอบชีวิตหลังความตายก็ได้รับการไขกระจ่างขึ้นมา ชีวิตหลังความตายในมุมของทุกศาสนาจะมีการแบ่งชีวิตแบ่งออกได้ 2 อย่าง คือ กายกับจิต ความตายเป็นเพียงแค่การแตกสลายของ (กาย) ธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ แต่หากดวงวิญญาณ (จิต) ยังคงเป็นอมตะไม่มีวันตาย วิญญาณที่เคยอาศัยอยู่ในกาย (รูป) ได้ออกจากกายเพื่อเข้าสู่สภาวะของการเกิดใหม่หรือต้องเผชิญเกี่ยวกับชีวิตหลังความตายต่อไป คติความเชื่อในเรื่องของชีวิตก่อนตายหรือหลังตายในมุมศาสนาแต่ละศาสนาก็จะมีวิธีการสอนที่แตกต่างกันจุดประสงค์ก็เพื่อให้ศาสนิกชนในแต่ละศาสนาเชื่อว่าชีวิตก่อนหรือหลังความตายมีลักษณะอย่างไร ภพภูมิของวิญญาณเป็นอย่างไร ควรมีหลักปฏิบัติอย่างไร ในแต่ละศาสนาก็จะมีหลักการสอนและวิธีปฏิบัติในรูปแบบของการทำความดี เพื่อเป็นการมุ่งหวังว่าชีวิตของศาสนิกชนตนเองเมื่อตายไปแล้วดวงวิญญาณก็จะไปสู่ภพที่ดีตามคำสอนของแต่ละศาสนา
References
กัมพันต์ พันธุมจินดา. (2539). สมองและความตาย ใน มุมมองเรื่องความตายและภาวะใกล้ตาย โดยประสาน ตางใจ และ ธนพรรณ สินธิสุนทร. กรุงเทพมหานคร: คบไฟ.
จิต ติงศภัทย์. (2530). กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล. กรุงเทพมหานคร: สํานักนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เชิญพร คงมา. (2550). Secret. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด.
ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. (2553). การเปรียบเทียบศาสนาและการศึกษาประเด็นสําคัญ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
บรรจบ บรรณรุจิ. (2538). ปฏิจจสมุปบาท. พิมพ์ครั้ง ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พรบุญการพิมพ์.
ปรานี ฬาพานิข. (2549). อิสลาม: ความตายไม่ใช่จุดจบของชีวิต. ใน โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์, ความตายกับการตายมุมมองจากศาสนากับวิทยาศาสตร์, กรุงเทพฯ: ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักพิมพ์มูลนิธิพันดารา.
พระพรหมคุณากรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
พระพรหมโมลี. (2545). กรรมทีปนี. (พิมพ์คร้ัง ที่ 2). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
พระอารดินทร์ เขมธมโม. (รัตนภู). (2550). การศึกษามโนทัศน์เรื่องความตายของกฤษณมูรติ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระศาสนโสภณ (พิจิตร ฐฃิตวณฺโณ). (2555). ตายแล้วไปไหน. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2521). ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัทธัมม โชติกะ.
พระอารดินทร์ เขมธมฺโม (รัตนภู). (2549). การศึกษามโนทัศน์เรื่องความตายของะกฤษณมูรติ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภัทรพร สิริกาญจน. (2546). ความรูพื้นฐานทางศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2525). กฎหมายแพ่ง 1 CIVIL LAW 1 (ฉบับปรับปรุง) หน่วยที่ 1-8). พิมพครั้งที่ 9. นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มูฮัมหมัดคอลดูน หะยี มุสอฟา. (2546). ชีวิตหลังจากตายแล้ว. กรุงเทพ: ศูนย์หนังสือมานพวงเสงี่ยม.
ราชบัณฑติยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติยสถานพ.ศ.2554. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑติยสถาน.
วชิรเมธี. (2559). มรณาวิชาสุดท้าย. กรุงเทพมหานคร: สัปปายะ.
วิรัตน์ กางทอง. (2552). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. (2558). ศาสนวิทยาและศาสนายุคโพสต์โมเดิร์น. กรุงเทพมหานคร: สถาบันศาสนวิทยา.
สุนทร ณ รังษี. (2559). มนุษย์กับการตายและการเกิดใหม่. กรุงเทพมหานคร: อนุสรณ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ.
สมทบ สุวรรณวิสุทธิ. (2520). กฎหมายแพ่งและพาณิชยว่าด้วยบุคคล. พระนคร: สํานักพิมพ์ ไทยสัมพันธ์.
สุวรรณา สถาอานันท์. (2539). ชีวิตและความตายตามคติคริสต์ศาสนาในมุมมองเรื่องความตายและภาวะใกล้ตาย. กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย.
เสฐียร พันธรังสี. (2513). ศาสนาเปรียบเทียบ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ธนบุรี: ห้างหุ่นส่วนจํากัด.
แสง มนวิฑูรย์. (2518). กฤษณะ ไทวปายนวฺยาส ศรีมัทภตวคีตา, แปลโดย แสง มนวิฑูรย์. พระนคร: แพร่พิทยา.
องค์การศาสนาพราหมณ์- ฮินดู. (2529). ประวัติและหลักธรรมในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2545). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
_____________. (2559). ชีวิตและความตายตามทรรศนะพระพุทธศาสนาและตามทรรศนะของนักปรัชญา อินเดีย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารปรัชญาปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์